กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการแม่และเด็กปลอดภัย ชาวกาหลงมีสุข ตำบลกาหลงอำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ ๒๕๖๒

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 อนามัยแม่และเด็ก หมายถึง การดูแลสุขภาพของหญิงทั้งก่อน ระหว่าง และหลังตั้งครรภ์ ให้มีการการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย พร้อมทั้งมีบุตรที่สมบูรณ์ แข็งแรง และได้รับการเลี้ยงดูอย่างมีคุณภาพ เป้าหมายนี้จะบรรลุผลได้ ควรเริ่มตั้งแต่การดูแลหญิงขณะตั้งครรภ์ให้มีสุขภาพที่ด

 

4.00

อนามัยแม่และเด็ก หมายถึง การดูแลสุขภาพของหญิงทั้งก่อน ระหว่าง และหลังตั้งครรภ์ ให้มีการการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย พร้อมทั้งมีบุตรที่สมบูรณ์ แข็งแรง และได้รับการเลี้ยงดูอย่างมีคุณภาพ เป้าหมายนี้จะบรรลุผลได้ ควรเริ่มตั้งแต่การดูแลหญิงขณะตั้งครรภ์ให้มีสุขภาพที่ดี มีการคลอดที่ปลอดภัย และสุขภาพหลังคลอดที่ดีเพื่อการเลี้ยงดูบุตรอย่างเหมาะสม
จากผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่ ตามข้อมูลตัวชี้วัด Health Data Center จังหวัดนราธิวาสปีงบประมาณ ๒๕๖๐ (ต.ค.2559-ก.ย.๒๕๖๐)พบว่ากลุ่มหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด 37 คน มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์31 คน (ร้อยละ 83.78)มาฝากครรภ์ครบ 5ครั้งตามเกณฑ์14 คน (ร้อยละ 38.89) ได้รับการดูแลหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ 25 คน (ร้อยละ 69.44) ปีงบประมาณ ๒๕๖1 (ต.ค.2560-ก.ย.๒๕๖1)พบว่า กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด 29 คน มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ 28 คน (ร้อยละ 96.55)มาฝากครรภ์ครบ 5ครั้งตามเกณฑ์ทั้งหมด 24 คน (ร้อยละ 96 )ได้รับการดูแลหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์22 คน (ร้อยละ 95.65)จะเห็นได้ว่า หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลที่มีคุณภาพ มีแนวโน้มดีขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่ ยังคงต้องการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดต่อไปให้ดีที่สุดเท่าที่สามารถทำได้ และป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนในหญิงตั้งครรภ์ด้วย
จากเหตุผลและความจำเป็นดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่ จึงได้จัดทำโครงการแม่และเด็กปลอดภัย ชาวกาหลงมีสุข ในตำบลกาหลงอำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ ๒๕๖2 ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์

1.หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ร้อยละ 60

4.00 0.00
2 ๒. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์

หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 60

3.00 0.00
3 เพื่อให้หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์

หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ

3.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2019

กำหนดเสร็จ 31/12/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมเจ้าหน้าที่และ อสม. ๑. ผู้รับผิดชอบงานสำรวจข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด ๒. จัดทำแผนงานเสนอที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส เพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ ๓. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการฯ ๔. ผู

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเจ้าหน้าที่และ อสม. ๑. ผู้รับผิดชอบงานสำรวจข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด ๒. จัดทำแผนงานเสนอที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส เพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ ๓. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการฯ ๔. ผู
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.ประชุมเจ้าหน้าที่และ อสม. เพื่อเตรียมความพร้อมแนวทางการคัดกรองฯ      ค่าอาหารว่าง จำนวน ๕๐ คน X ๒๕ บาท X ๑ มื้อ =๑,๒๕๐ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1250.00

กิจกรรมที่ 2 ๒.อบรมให้ความรู้ ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและเครือข่าย อสม.ตำบลกาหลงทั้ง 4 หมู่ ๒. นัดหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ มาให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด ความสำคัญของการฝากครรภ์

ชื่อกิจกรรม
๒.อบรมให้ความรู้ ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและเครือข่าย อสม.ตำบลกาหลงทั้ง 4 หมู่ ๒. นัดหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ มาให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด ความสำคัญของการฝากครรภ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๒.1อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด ความสำคัญของการฝากครรภ์ ค่าอาหารว่าง25 บาทx 40 คน x 2 มื้อ=2,000บาท ค่าอาหารกลางวัน 75 บาท x 40 คน x 1 มื้อ= 3,0๐๐  บาท ค่าป้ายไวนิล    ขนาด ๑ X 2 เมตร = 750  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5750.00

กิจกรรมที่ 3 3.เยี่ยมหญิงหลังคลอด ๑.สรุปและจัดทำรายงานประเมินผลโครงการ

ชื่อกิจกรรม
3.เยี่ยมหญิงหลังคลอด ๑.สรุปและจัดทำรายงานประเมินผลโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

3.1 เยี่ยมหญิงหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ค่าอาหารเพื่อสุขภาพ  100 บาท x 30 คน =3,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
๒. หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
๓. หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์


>