กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบรูณาการการระบบอาหารและโภชนาการสมวัยใน โรงเรียนบ้านลำลอง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

โรงเรียนบ้านลำลอง

1. นายอับดุลฮาหมัด โส๊ะหน่าย 089-975025
2. นางสาวสวยหนะ หัดขะเจ 086-2984972
3. นางทิพยมาศ ไฝเพ็ชร์ 089-2961654

โรงเรียนบ้านลำลอง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

นักรียนของเรียนบ้านลำลองส่วนหนึ่งมีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์เนื่องจากไม่ได้รับประทานอาหาารที่เหมาะสมและเพียงพอในแต่ละวัน จากข้อมูลการวัดส่วนสูงและชั่งน้ำหนักพบว่านักเรียนส่วนหนึ่งมีน้ำหนักและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์

40.00
2 ร้อยละของผักที่นำมาประกอบอาหารกลางวัน

โรงเรียนซื้อผักในการประกอบอาหารกลางวันจากร้านในชุมชนและไม่แน่ใจว่าผักปลอดภัย

100.00
3 ร้อยละของนักเรียนที่รับประทานผัก

นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ชอบทานผักเนื่่องจากไม่ได้รับการฝึกการกินผักมาตั่งแต่เล็กๆ

50.00
4 ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่ในโรงเรียน

โรงเรียนบ้านลำลองตั่งอยู่เชิงเขาไม่มีพื้นที่สำหรับปลูกผักแต่นักเรียนมีจำนวน378คนและต้องใช้ผักจำนวนมากในการทำอาหารกลางวัน

10.00
5 ร้อยละของการกำจัดเศษวัสดุที่นำมาประกอบอาหารกลางวัน

โรงเรียนบ้านลำลองยังไม่มีการกำจัดเศษวัสดุที่เหลือจากการประกอบอาหารกลางวันที่เหมาะสม

10.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการณ์ต่ำกว่าเกณฑ์

1.1 นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
1.2 นักเรียนเปลี่นพฤติกรรมรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพิ่มขึ้น

40.00 2.00
2 เพื่อเพิ่มสัดส่วนผักที่ความปลอดภัยในการประกอบอาหารกลางวัน

2.1 นักเรียนได้รับประทานผักที่มีความปลอดภัยและรู้ที่มาของผัก
2.2 ชุมชนเห็นความสำคัญของการปลูกผักที่ปลอดภัย

50.00 90.00
3 เพื่อเพิ่มปริมาณการทานผักของนักเรียน

3.1 นักเรียนรับประทานผักในแต่ละวันอย่างวันละ400กรัม
3.2 นักเรียนสามารถรัประทานผักที่มีความหลากหลายมากขึ้น

80.00 100.00
4 เพื่่อเพิ่มพื้นที่ทำการเกษตรที่ปลอดภัยในโรงเรียน

4.1 โรงเรียนมีพื้นที่สำหรับทำเกษตรที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้น
4.2 โรงเรียนนำวัสดุเหลือใช้เพื่อทำเกษตรที่ปลอดภัยเช่นปลูกในล้อรถถังสีกะละมังหม้อ

10.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 378
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 25/09/2019

กำหนดเสร็จ 31/03/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 เกษตรตัวน้อย

ชื่อกิจกรรม
เกษตรตัวน้อย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุม 2.การจัดทำฐานข้อมูลพันธุ์พืชพื้นบ้าน
-คัดเลือกคณะทำงานประกอบด้วยปราชญ์ชาวบ้านแกนนำเกษตรกรผู้ปกครองครูและนักเรียนชั้นป.4 – ป.6จำนวน1,000บาท
-ประชุมคณะทำงาน จำนวน 1วันค่าอาหารจำนวน 40 คน x 25 บาท รวม 1,000 บาท
-การอบรมการเพาะพันธุ์พืชพื้นบ้านและการปลูกพืชพื้นบ้านเสริมสร้างรายได้ให้ความรู้ผู้ปกครอง นักเรียน ชุมชน จำนวน1 วัน เป็นเงิน7,500บาท
-ค่าอาหารจำนวน 150 คน x 25 บาทรวม 3,750 บาท
-ค่าเอกสาร 150 ชุดx 10บาทจำนวน 1,500 บาท
-ค่าวิทยากรให้ความรู้ 2 ชม x 600 บาท รวม 1,200 บาท
-การสำรวจข้อมูลพันธุ์พืชพื้นบ้าน
3.การจัดทำธนาคารอาหาร -การปลูกผักสวนครัวบริเวณโรงเรียนจำนวน243คนเป็นเงิน2,000 บาท
-ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวในครัวเรือนจำนวน20คนเป็นเงิน1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.1 เกิดนโยบายส่งเสริมเกษตรกรในชุมชนให้ทำการผลิตอาหารเช่นผักและผลไม้โดยใช้วิธีการเกษตรอินทรีย์
1.2 เกิดการยกระดับเกษตรกรที่ทำการผลิตอาหารในชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้และขยายผลไปสู่ครัวเรือน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18950.00

กิจกรรมที่ 2 ความปลอดภัยของอาหาร

ชื่อกิจกรรม
ความปลอดภัยของอาหาร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชาสัมพันธ์ความรู้เรื่องความปลอดภัยของอาหาร เช่น บรูณาการเข้ากับวิชาเรียนเสียงตามสายบอร์ดประชาสัมพันธ์แผ่นพับและเชิญวิทยากรอบรม เป็นเงิน1000บาท
2.จัดทำแผนเฝ้าระวังสถานที่จัดจำหน่ายขนมอาหารสดและอาหารแห้งบริเวณรอบๆโรงเรียน
-จัดประชุมให้ความรู้เรื่องอาหารปลอดภัยแก่แม่ค้ารอบโรงเรียนจำนวน20คนๆละ25บาทเป็นเงิน500บาท
3.จัดทำแผนเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารและการลด ละ เลิกการใช้โฟม
-จัดประชุมให้ความรู้เรื่องอาหารปลอดภัยแก่ผู้ปกครองและแม่ค้ารอบโรงเรียนจำนวน100คนๆละ25บาทเป็นเงิน 2500บาท
4.ปลูกผัก
-ปลูกผักไร้ดินจำนวน3หลัง ๆ ละ6000บาทเป็นเงิน12000บาท -การปลูกผักปลอดสารพิษ
เมล็ดพันธ์พัก500บาทปุ๋ยคอก500บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

2.1 เกิดตลาดนัดสีเขียวที่เป็นแหล่งอาหารที่ปลอดภัยของชุมชน 2.2 เกิดกลไกลการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16000.00

กิจกรรมที่ 3 ด้านโภชนาการสมวัย

ชื่อกิจกรรม
ด้านโภชนาการสมวัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียนในโรงเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี
-ส่งเสริมให้นักเรียนรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ3มื้อ(โรงเรียนจัดอาหารเช้าให้โดยใชัผลผลิตภายในโรเรียน)
2.สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ให้ทุกภาคส่วน รับทราบและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน และประสานเครือข่ายความร่วมมือในการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขภาพอนามัยจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชนและภาคีเครือข่าย
-จัดประชุมเครือข่ายเพื่อร่วมรับรู้ปัญหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน จำนวน50คน จำนวน25บาท 1250บาท
3.การกำหนดเมนูอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการThai-School Lunch
4.ตรวจสุขภาพผู้ประกอบอาหารและตรวจสถานที่ปรุงอาหาร
5.มีแผนเชื่อมโยงผลผลิตเกษตรจากชุมชนกับเมนูอาหาร Thai-School Lunch
6.การเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน -การประเมินภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน(วัดส่วนสูงและชั่งน้ำหนัก)
-จัดกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน
-ประชุมชี้แจงผู้ปกครองของนักเรียนที่ภาวะทุพโภชนาการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

3.1 เกิดการส่งเสริมการทำเกษตรในโรงเรียนเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งอาหรที่ปลอดภัย
3.2 เกิดการเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดภัย
3.3 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูบุตรที่ส่งผลให้ภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1250.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 36,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้เรื่องธนาคารอาหารและแหล่งรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
2. นักเรียนรับประทานอาหารกลางวันที่มีทั้งปริมาณ และคุณค่าทางโภชนาการสูง
3. นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น


>