กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังเตือนภัยห่วงใยผู้บริโภค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านทุ่งปรือ

1.น.ส.ดวงฤดี สุระสังวาลย์ ตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.บ้านทุ่งปรือ
2.น.ส.กูฮัจย๊ะ สัญญาตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการ
3.นางนาศตยา รุ่งรุจโชติวัฒน์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
4.น.ส.สุวดี แซ่อุ๋ย ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
5.นายพิษณุ ลักษณะอัมพร ตำแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านทุ่งปรือ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคพบว่า การใช้เครื่องอุปโภคบริโภค ที่ไม่ได้มาตรฐานจากร้านขายของชำในชุมชน และยังจำหน่ายยาบางชนิดที่ไมาสามารถจำหน่ายได้ในร้านขายของชำ ซึ่งผู้ประกอบการส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ที่ชัดเจนเกี่ยวกับการเลือกกผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอางค์ ที่มีคุณภาพ ความรู้เรื่องประเภทของยาแต่ละชนิด ที่สามารถจำหน่ายได้ในร้านขายของชำ และจำหน่ายให้กับร้านค้าในชุมชนได้ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคทั้งสิน ดันนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านทุ่งปรือ ได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังเตือนภัยห่วงใยผุ้บริโภค เพื่อเป็นการคุ้มครอง ตรวจสอบ และเฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพ ตลอดจนเพิ่มพูนความรู้พัฒนาศักยภาพของ อสม .ตลอดจนผู้ประกอบการร้านขายของชำในหมู่บ้าน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผุ้ประกอบการร้านอาหาร และ อสม.มีความรู้ความเข้าใจด้านการสุขาภิบาลอาหาร สลากอาหาร แลพิษภัยจากสารปนเปื้อน 6 ชนิด

ร้อยละ80 ของร้านอาหาร / แผงลอย จำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน

0.00
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของ อสม. ในเรื่องของทักษะการตรวจเบื้องต้นด้วยTest Kitค้นหาสารห้ามใช้ สารปนเปื้อน และตรวจหายาฆ่าแมลงในเลือดของเกษตรกร

ร้อยละ 95 ของร้านอาหารสดที่ผ่านการรับรองอาหารปลอดภัยสารปนเปื้อน 6ชนิด

0.00
3 เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ในการใช้หน้าต่างเตือนภัยทางสุขภาพ และตระหนักถึงโทษของสารห้ามใช้

มีการจัดตั้งศูนย์แจ้งเตือยภัยแลรับเรื่อร้องเรียนปัญหาสุขภาพ

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่1 อบรมให้ความรู้แก่ผุ้ประกอบการ อสม. และประชาชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่1 อบรมให้ความรู้แก่ผุ้ประกอบการ อสม. และประชาชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่1 อบรมให้ความรู้แก่ผุ้ประกอบการร้านค้า,ร้านอาหาร อสม. และประชาชน 1.1ทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรมโดยใช้แบบสอบถาม 1.2การอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่องความปลอดภัยผุ้บริโภคด้านสาธารณสุข การอ่านฉลากสินค้า การตรวจสอบสารระบบผ่านwebsite การเข้าหน้าต่างเตือนภัยสุขภาพ การตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพผ่านหน้าต่างเตือนภัย 1.3จัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัยและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาสุขภาพ

งบประมาณ กิจกรรมที่ 1 1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆละ 50 บาท จำนวน 30 คน  เป็นเงิน 1500 บาท 2. ค่าอาหารว่าง จำนวน 2 มื้อ ๆละ 25 บาท จำนวน 30 คน    เป็นเงิน 1500 บาท
3. ค่าวัสดุการอบรม จำนวน 30 ชุดๆละ 100 บาท                เป็นเงิน 3000 บาท 4. ค่าป้ายไวนิลฯ ขนาด 1.5เมตร x 2 เมตร จำนวน 8 ป้ายๆละ 500 บาท เป็นเงิน 4000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้ประกอบการร้านอาหาร / แผงลอยจำหน่ายอาหาร ผุ้ประกอบการร้านจำหน่ายอาหารสด ผุ้ประกอบร้านชำ และ อสม. มีความรู้วามเข้าใจด้านการสุขาภิบาลอาหาร ฉลากอาหาร และพิษจากสารปนเปื้อนทั้ง 6ชนิด 2.ผุ้ประกอบการร้านค้า, อสม. และประชาชน ตลอดจนผู้บริโภค ตระหนัก เห็นความสำคัญ และความปลอดภัยในการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 3.ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหารได้มาตรฐานสะอาดรสชาติอร่อย
4.ร้านอาหาร/แผงลอย อาหารเข้าร่วมโครงการปลอดโฟม ลดพลาสติก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่2 ออกตรวจประเมินพร้อมให้คำแนะนำตามแผน รณรงค์ประชาสัมพันธ์ ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะ โฟมบรรจุอาหาร ลดการใช้ถุงพลาสติก และจัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัยและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาสุข

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่2 ออกตรวจประเมินพร้อมให้คำแนะนำตามแผน รณรงค์ประชาสัมพันธ์ ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะ โฟมบรรจุอาหาร ลดการใช้ถุงพลาสติก และจัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัยและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาสุข
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่2 ออกตรวจประเมินพร้อมให้คำแนะนำตามแผน รณรงค์ประชาสัมพันธ์ ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะ โฟมบรรจุอาหาร ลดการใช้ถุงพลาสติก และจัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัยและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาสุข 2.1.ออกตรวจประเมินสถานประกอบการ 2.2.อสม.ออกให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ และทดสอบารห้ามใช้ในผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2.3 ตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและสารห้ามใช้ 2.4จัดตั้งศูนย์แจ้งแตือนภัยเฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียน 2.5สรุปผลการตรวจประเมิน

งานประมาณ 1. ค่าชุดตรวจทดสอบอาหารปลอดภัย   เป็นเงิน 10000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดศูนย์แจ้งแตือนภัยเฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาสุขภาพในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้ประกอบการร้านอาหาร / แผงลอยจำหน่ายอาหาร ผุ้ประกอบการร้านจำหน่ายอาหารสด ผุ้ประกอบร้านชำ และ อสม. มีความรู้วามเข้าใจด้านการสุขาภิบาลอาหาร ฉลากอาหาร และพิษจากสารปนเปื้อนทั้ง 6ชนิด
2.ผุ้ประกอบการร้านค้า, อสม. และประชาชน ตลอดจนผู้บริโภค ตระหนัก เห็นความสำคัญ และความปลอดภัยในการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
3.ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหารได้มาตรฐานสะอาดรสชาติอร่อย
4.ร้านอาหาร/แผงลอย อาหารเข้าร่วมโครงการปลอดโฟม ลดพลาสติก
5.เกิดศูนย์แจ้งเตือยภัยเฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาสุขภาพในชุมชน
6 อสม.ผ่านการประเมินศักยภาพเป็นอสม.นักวิทย์ฯ สามารถตรวจสารเลขระบบผ่าน Website และตรวจสอบผลิตภัณ์ผ่านหน้าต่างเตือนภัย


>