กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.ทุ่งนุ้ย

พื้นที่ตำบลทุ่งนุ้ย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องการป้องกันตนเอง ร้อยละ 90

0.00
2 เพื่อตั้งด่านตรวจคัดกรองโรคและเฝ้าระวังควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด (COVID19)

มีด่านตรวจคัดกรองโรคบริการประชาชน จำนวน 1 จุด

0.00
3 เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

มีวัสดุอุปกรณ์สำหรับป้องกันโรคแก่กลุ่มเสียงและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องครบ ร้อยละ 100

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 600
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 19/03/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ตั้งด่านตรวจคัดกรองโรคโควิด-19 เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19

ชื่อกิจกรรม
ตั้งด่านตรวจคัดกรองโรคโควิด-19 เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าน้ำแข็งหลอด จำนวน 120 ก.ก/วัน จำนวน 30 วัน    เป็นเงิน 10,800 บาท
  2. ค่าน้ำดื่มถังใหญ่ วันละ 6 ถัง/วัน จำนวน  30 วัน    เป็นเงิน 2,340 บาท
  3. ค่าหน้ากากอนามัย N95 อันละ 200 บาท จำนวน 25  อัน เป็นเงิน 4,870 บาท
  4. ค่าเจลล้างมือแอลกอฮอล  ขนาด 450 ml จำนวน 60 ขวดๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 18,000 บาท
  5. ค่าเครื่องเทอร์โมแสกรนวัดอุณหภูมิร่างกายตัวละ 4,500 บาท จำนวน 5 ตัว เป็นเงิน 22,500 บาท
  6. ค่าเต็น 2 หลังราคา  800 บาท/วัน จำนวน 30  วัน เป็นเงิน 48,000 บาท
  7. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ เช่น  เอกสาร แผ่นพับ ไวนิล ฯลฯ เป็นเงิน 15,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
19 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
121510.00

กิจกรรมที่ 2 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

ชื่อกิจกรรม
จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าน้ำยาฆ่าเชื้อโรค ขนาด 5 ลิตร จำนวน 4 ขวดละๆ 8,000  บาท  เป็นเงิน 32,000 บาท
  2. ค่าเครื่องพ่นแบบชาร์จแบตเตอร์รี่ ขนาด 16 ลิตร จำนวน 3 เครื่องๆ ละ 2,200 บาท เป็นเงิน 6,600 บาท
  3. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ เช่น แว่นป้องกันสายตา ถุงมือ ฯลฯ เป็นเงิน 10,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
19 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
48600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 170,110.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.มีด่านตรวจคัดกรองโรคโควิด-19 เพื่อเฝ้าระวังควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด (COVID19)
2.ลดความตื่นตระหนักของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค
3.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้


>