กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ปลอดภัยจากไข้เลือดออก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโนนสมบูรณ์

1. แกนนำครอบครัวและ อสม. 4 หมู่บ้านๆละ10 ครัวเรือน จำนวน 47 คน
2.ตัวแทนนักเรียนและครู โรงเรียนละ 10 คน จำนวน 40 คน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโนนสมบูรณ์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขของไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคระบาดที่สร้างความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนมกราคม-กันยายนของทุกปี ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีอย่างต่อเนื่อง ทวีความรุนแรงและมีผู้ป่วยมากขึ้นจึงควรมีการดำเนินการป้องกันและควบคุม ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนำประชาชน องค์กร ชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโนนสมบูรณ์ จึงได้จัดทำโครงการชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ปลอดภัยจากไข้เลือดออก ปี 2563 เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนร่วมมือกันกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งเป็นการลดจำนวนยุงที่ติดเชื้อและลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 47
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรม

ชื่อกิจกรรม
อบรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 อบรมให้ความรู้การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน      รุ่นที่  1   จำนวน  40   คน   มีค่าใช้จ่ายดังนี้
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 40 คน x 70 บาท x 1 มื้อ  x 1 วัน      = 2800   บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คน x 25 บาท x 2 มื้อ  x 1 วัน      = 2000  บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากรบรรยาย จำนวน 1 คน x 600 บาท x 4 ชั่วโมง          = 2400  บาท
- คู่มือในการอบรม จำนวน 80 เล่ม x 22 บาท                   =  1760 บาท
2 ออกรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย มีค่าใช้จ่ายดังนี้
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 24 คน x 70 บาท x 1 มื้อ  x 3 วัน      = 5040   บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 24 คน x 25 บาท x 2 มื้อ  x 3 วัน      = 3600  บาท
3 อบรมให้ความรู้การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน  รุ่นที่  2   จำนวน   47   คน มีค่าใช้จ่ายดังนี้
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 47 คน x 70 บาท x 1 มื้อ  x 1 วัน      =   3290 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 47 คน x 25 บาท x 2 มื้อ  x 1 วัน    =  2350 บาท
รวมงบประมาณทั้งสิ้น   23,240   บาท (สองหมื่นสามพันสองร้อยสี่สิบบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23240.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,240.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนและองค์กรต่างๆ ในชุมชนมีความร่วมมือ ร่วมใจในการรณรงค์ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้ปลอดลูกน้ำยุงลายอย่างสม่ำเสมอ
2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก และมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง เหมาะสมในการป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก
3. ไม่มีผู้ป่วยตายโรคไข้เลือดออก


>