กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปุโรง รณรงค์ ลด ละ เลิกบุหรี่เพื่อสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

บัณฑิตอาสาฯ

นางสาวซีตีฮาวอ บากา 089 2950993
นางสาวอพีรดา แซเปาะมะ 081 850 1822
นางสาวซารีนี มิตรอนุรักษ์082 822 7644
นางสาวนูรีฮะห์ อาเระ084 735 0646
นายมะอูเซ็งปูมูลูกือจิ084 747 7390

ม.3 ต.ปุโรง อ.กรงปินัง จ.ยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานยาสูบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและเยาวชน(อายุไม่เกิน 25 ปี) ที่สูบบุหรี่

 

70.00
2 ร้อยละของผู้เลิกบุหรี่ได้สำเร็จ (เลิกติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ)

 

10.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน

อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

70.00 20.00
2 เพื่อเพิ่มอัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ

อัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือนโดยไม่กลับไปสูบซ้ำเพิ่มขึ้นเป็น(ร้อยละ)

10.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 25/02/2021

กำหนดเสร็จ 28/10/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมคณะทำงาน จำนวน 2 ครั้งประกอบด้วย 1. ผู้นำในพื้นที่ทั้ง 4 หมู่บ้าน 2. บัณฑิตอาสาจำนวน 5 คน 3.อสม.จำนวน 4 คน 4.ผู้นำศาสนาจำนวน 4คน รวมทั้งหมด 17 คน

-ค่าอาหารว่าง จำนวน 2 มื้อๆละ 25บาท จำนวน 17 คน คิดเป็นเงินจำนวน 850 บาท

-ค่าอาหารเที่ยง จำนวน 2 มื้อๆละ 50 บาท จำนวน 17 คน คิดเป็นเงิน 1700 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
25 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 28 ตุลาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1ได้คณะทำงานของโครงการ จำนวน 17 คน ที่เข้าใจรายละเอียดของโรงการ

2ได้กลุ่มเป้าหมายของโครงการ จำนวน 40 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2550.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษของบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษของบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดอบรมการให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของบุหรี่ กับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คน
ค่าใช้จ่ายประกอบด้วย
1.ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 2 เมตร จำนวน 1 ผืน จำนวนเงิน 800 บาท

2.ค่าสมุด/ปากกา จำนวน 40 ชุดๆ 15 บาท จำนวนเงิน 600 บาท

3.ค่าอาหารว่างจำนวน 1 มื้อๆ 25 บาท จำนวน 59 คน จำนวนเงิน 1475 บาท

4.ค่าอาหารเที่ยง จำนวน 1มื้อๆ 50 บาท จำนวน 59 คน จำนวนเงิน 2950 บาท

5.ค่าวิทยากร จำนวน2คนๆละ 2 ชั่วโมงละ 500 บาท จำนวนเงิน 2000 บาท

6.ค่าสถานที่ จำนวนเงิน 1000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
17 มีนาคม 2564 ถึง 17 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.กลุ่มเป้าหายได้รับความรู้ความเข้าใจลด ละเลิกบุหรี่เพื่อสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8825.00

กิจกรรมที่ 3 จิบชาหญ้าดอกขาว และยาอมเลิกบุหรี่โดย แพทย์แผนไทย

ชื่อกิจกรรม
จิบชาหญ้าดอกขาว และยาอมเลิกบุหรี่โดย แพทย์แผนไทย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประสานกับแพทย์แผนไทยเพื่อจัดหายาอมเลิกบุหรี่ กับกลุ่มผู้ต้องการเลิกบุหรี่ จำนวน 6 เดือน
ค่าใช้จ่าย
ค่าลูกอมเลิกบุหรี่่ จำนวน 1,000 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
5 ตุลาคม 2564 ถึง 17 กุมภาพันธ์ 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ต้องการเลิกบุหรี่สามารถเลิกบุหรี่โดยใช้ลูกอม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

กิจกรรมที่ 4 จัดตั้งกลุ่มอาสาสมัครอาสาพาเลิกบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
จัดตั้งกลุ่มอาสาสมัครอาสาพาเลิกบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดตั้งกลุ่มอาสาสมัครอาสาพาเลิกบุหรี่  จำนวน 10 คน
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 10 คน ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 500 บาท
2. ค่าอาหารว่าง จำนวน 10 คน ๆ ละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 500 บาท
3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 เมษายน 2564 ถึง 2 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดกลุ่มอาสาสมัครอาสาพาเลิกบุหรี่ บ้านป่าหว้า จำนวน 10 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

กิจกรรมที่ 5 ติดตามผู้ที่ผ่านการอบรมและเลิกบุหรี่ได้

ชื่อกิจกรรม
ติดตามผู้ที่ผ่านการอบรมและเลิกบุหรี่ได้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ลงพื้นทีติดตามและประเมินผลกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมปุโรง รณรงค์ ลด ละ เลิกบุหรี่เพื่อสุขภาพ
ค่าใช้จ่ายประกอบด้วย

1.ค่าอาหารว่างจำนวน 1 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 17 คน จำนวนเงิน 850 บาท

2.ค่าอาหารเที่ยงจำนวน 1 มื้อๆ 50 บาท จำนวน 17 คน จำนวนเงิน 1700 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เพื่อติดตามและการประเมินผลโดยผู้ที่การการอบรม

2.เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจที่สามารถลด ละ เลิกบุหรี่เพื่อสุขภาพได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2550.00

กิจกรรมที่ 6 คนต้นแบบสุขภาพดี ปลอดควันบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
คนต้นแบบสุขภาพดี ปลอดควันบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สำรวจและมอบเกียรติบัตรให้แก่ครัวเรือนปลอดบุหรี่
1. ค่าเกียรติบัตรพร้อมกรอบ จำนวน 20 ชุด ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 ตุลาคม 2564 ถึง 4 ตุลาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดคนต้นแบบสุขภาพดี ลด ละ เลิกบุหรี่ได้ อย่างน้อย 20 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,925.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.กลุ่มเป้าหมายสามารถลด ละ เลิกบุหรี่เพื่อสุขภาพได้
2.มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น


>