กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ปลูกผักสวนครัวปลอดสาร ตู้เย็นข้างบ้าน ตำบลบาโลย อำเภอยะหริ่ง ปี2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กลุ่มบัณฑิตอาสาพัฒนามาตุภูมิตำบลบาโลย

1. นางสาวนาซอพะ หมู๊หนา โทร 093-5891747
2. นางสาวไซตง สาเมาะ โทร 065-0682134
3. นางสาวสุลาวัลย์รังทอง โทร 082-8254145
4.นางสาวนัสรีนสาอิ โทร 065-3184323
5. นางสาวนูไรยา ตอกอ โทร 093-5751527

หมู่ที่ 1-4 ตำบลบาโลย อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

 

50.00
2 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม

 

30.00
3 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

 

20.00

เนื่องจากปัจจุบันคนในชุมชนบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ ที่ใช้สารเคมี ทำให้เกิดโรค ต่างๆ ได้ง่าย จึงมีแนวทางให้คนในชุมชนหันมาปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อสุขภาพและส่งเสริมให้คนในชุมชนบริโภคอาหารอย่างเพียงพอ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน เพิ่มขึ้น

50.00 60.00
2 เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น

30.00 50.00
3 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

20.00 40.00

เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้าน/ตำบลทุกครัวเรือนมีสุขภาพร่างกายที่ปลอดภัยใร้สารเคมี สามารถลดรายจ่ายในครัวเรือนได้ สนับสนุนให้ประชาชนลดการใช้สารเคมีและยาปราบศัตรูพืช

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดแผนในการดำเนินงานโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดแผนในการดำเนินงานโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดแผนในการดำเนินงานโครงการ จำนวน 15 คน 1. ค่าอาหารว่าง คนละ 25 บาท จำนวน 15 คน เป็นเงิน 375 บาท 2. ค่าเอกสารประกอบการประชุม ชุดละ 10 บาท จำนวน 15 คน เป็นเงิน 150 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 31 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีคณะกรรมการในการดำเนินงานขับเคลื่อน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
525.00

กิจกรรมที่ 2 พัฒนาที่ว่างมาปลูกผักโดยปราชญ์ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาที่ว่างมาปลูกผักโดยปราชญ์ชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดประชุมผู้นำในชุมชนเพื่อวางแผนในการดำเนินกิจกรรม จัดอบรมประชาชนที่สนใจปลูกผักและให้ความรู้วิธีการปลูกผัก จำนวน 30 คน
งบประมาณ 20,000 บาท
ค่าใช้จ่าย
ค่าวิทยากร 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท รวม 1,200 บาท
ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่างและเครื่องดื่ม คนละ 100 บาท รวม 3,000 บาท
ค่าเมล็ดพันธ์ุผัก 3,000 บาท
ค่าปุ๋ยอินทรีย์ 3,300 บาท ค่าป้ายโครงการขนาด 1.25 x2.4 เมตร จำนวน 1 ป้าย รวม 750 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต ประชาชนในชุมชนมีพืชผักเป็นของตัวเองและเป็นการลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ผลลัพธ์ ประชาชนมีงานทำ พัฒนาพื้นที่ว่างให้เป็นประโยชน์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11250.00

กิจกรรมที่ 3 สาธิตการทำปุ๋ยหมัก

ชื่อกิจกรรม
สาธิตการทำปุ๋ยหมัก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดประชุมผู้นำชุมชนในการดำเนินกิจกรรมและประชาสัมพันธ์ประชาชนผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน
ค่าวิทยากร 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท รวม 1,200 บาท
ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง และเครื่องดื่ม คนละ 100 บาท จำนวน 5,000 บาท
ค่าวัสดุการทำปุ๋ยหมัก 6,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่เเข็งเเรง ลดการเจ็บป่วยลง เเละรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12200.00

กิจกรรมที่ 4 ถอดบทเรียนโครงการ/กิจกรรม

ชื่อกิจกรรม
ถอดบทเรียนโครงการ/กิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารกลางวัน 40 กล่องๆละ 50 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
2.ค่าอาหารว่างชุดละ 25 บาท จำนวน 40 ชุด เป็นเงิน 1,000 บาท
3.ค่าอุปกรณ์ในการดำเนินงาน เป็นเงิน 700 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ทำให้ทราบผลของการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมาได้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ 2.ทำให้ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการดำเนินกิจกกรรมต่างๆ เพื่อไว้ปรับใช้ในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3700.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,675.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>