กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเผู้สูงวัยบ้านทุ่งหม้อแตก อยู่ดี กินดี ปลอดโรคภัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

คณะกรรมการหมู่บ้านทุ่งหม้อแตก

1.นางรัตนา บุญเพ็ชร ตำแหน่ง ประธาน เบอร์โทร 0937782364
2.นายพนม แก้วศรี ตำแหน่ง ที่ปรึกษา/รองประธาน
3.นางกมลวรรณ ทองศรี ตำแหน่ง กรรมการ
4.นางวัลลีแก้วสุกกระ ตำแหน่ง กรรมการ
5.นางสาวสุภาวดี ยอดแก้ว ตำแหน่ง กรรมการ

บ้านทุ่งหม้อแตกหมู่ที่ 8 ตำบลฉาง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

 

30.00
2 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

 

60.00
3 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัย เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ

 

10.00
4 จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)

 

10.00
5 ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

 

5.00

จากการศึกษาข้อมูลพบว่าโครงสร้างประชากรของประเทศไทย กลุ่มประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั่งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากร จำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นเช่นนี้ เนื่องมาจาก
การพัฒนาด้านสาธารรณสุขและทางแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุ สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุข ผู้สูงอายุ ถือว่าเป็น ปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่ง เนื่องจากผ่านประสบการณ์มามาก และเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อน มีความรู้มีทักษะ อนุรักษ์ และสืบทอดประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมาย แต่ในปัจจุบัน เป็นสังคมที่มีการแข่งขันในเรื่องการทำงาน บุตรหลานซึ่งเป็นวัยทำงาน จะต้องออกไปนอกบ้าน กว่าจะกลับมาก็ค่ำ ทำให้ความสัมพันธ์ในครอบครัวระหว่าง พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย หรือญาติผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นผู้สูงวัยลดน้อยลง มีช่องว่างระหว่างวัย ผู้สูงอายุถูกปล่อยให้อยู่กับบ้าน รู้สึกน้อยใจ ไม่มีคุณค่า ทำให้เกิดโรคซึมเศร้าได้
จากการสำรวจข้อมูลด้านผู้สูงอายุ มีจำนวนผู้สูงอายุที่ติดบ้านและมีปัญหาในเรื่อง นอนไม่หลับ เศร้า และมีปัญหาในการพูดคุยกับลูกหลานในครอบครัว และไม่สามารถไปร่วมกิจกรรมนอกพื้นที่ได้ จำนวน 60 คนในการนี้กลุ่มบัณฑิตอาสาฯ ร่วมกับ ชุมชนตำบลบาโหยได้เห็นความสำคัญของผู้สูงอายุ และความเป็นอยู่ทั้งสุขภาพกาย สุขภาพใจ การปรับตัว การอยู่ร่วมกับ ครอบครัว และสังคม ได้อย่างมีความสุข ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่าชีวิตมีคุณค่า สามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

30.00 60.00
2 เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม  ลดลง

60.00 20.00
3 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์ เพิ่มขึ้น

5.00 40.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ

ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

10.00 20.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล

จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น

10.00 20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มผู้ดูแลผู้สูงอายุ 35
คณะทำงาน 20

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 19/03/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมวางแผนการทำงานโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพแบบพึ่งตนเอง

ชื่อกิจกรรม
ประชุมวางแผนการทำงานโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพแบบพึ่งตนเอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่าง (5 คน35บาท * 2 มื้อ = 350 บาท)

    -อาหาร (5 คน50 บาท* 1 มื้อ= 250 บาท)

ระยะเวลาดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 ถึง 1 มีนาคม 2564 ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) 1.ประชุมชี้แจงคณะทำงาน ได้มีความรู้เกี่ยวกับเพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมที่มีความสอดคล้องอย่างสมบูรณ์แบบ 2.ได้มีการจัดเตรียมเอกสารและวางแผนการดำเนินงานโครงการ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมที่มีความสอดคล้องกัน

ระยะเวลาดำเนินงาน
26 มีนาคม 2564 ถึง 26 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ประชุมชี้แจงคณะทำงาน ได้มีความรู้เกี่ยวกับเพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมที่มีความสอดคล้องอย่างสมบูรณ์แบบ 2.ได้มีการจัดเตรียมเอกสารโครงการ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมที่มีความสอดคล้องกัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
600.00

กิจกรรมที่ 2 ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ โดยใช้เสียงตามสายและไวนิล งบประมาณ -ค่าไวนิลขนาด2x2.5120 = 600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
26 มีนาคม 2564 ถึง 31 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีการประชาสัมพันธ์เพื่อให้คนในชุมชนทราบ และมีการเข้ามาสมัครเข้าร่วมกิจกรรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
600.00

กิจกรรมที่ 3 สูงวัยใส่ใจสุขภาพ เดือนที่1

ชื่อกิจกรรม
สูงวัยใส่ใจสุขภาพ เดือนที่1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมสูงวัยใส่ใจสุขภาพ เดือนที่ 1 โดยมีกิจกรรมดังนี้

1.มีการให้ความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้อายุสูงการดูแลสุขภาพในช่องปาก

2.ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุ สาธิตการดูแลสุขภาพเพื่อยืดเหยียดกล้ามเนื้อมือในผู้สูงอายุผลิตอุปกรณ์ฟื้นฟูกล้ามเนื้อมือด้วยภูมิปัญญาชาวบ้าน

3.มีการสาธิตและแนะนำเมนูสุขภาพในผู้สูงอายุ 1 น้ำสมุนไพร2 ข้าวยำเพื่อสุขภาพ

งบประมาณ -ค่าวิทยากร 3ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1800บาท

-อุปกรณ์สาธิตเมนูสุขภาพ เป็นเงิน 1000 บาท

-อุปกรณ์ ผลิตอุปกรณ์ฟื้นฟูกล้ามเนื้อมือด้วยภูมิปัญญาชาวบ้าน(ถั่วเขียว ผ้า เข็ม ด้าย หลอดดูด เป็นต้น)เป็นเงิน 1000 บาท

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมโครงการและคณะทำงาน รวม 80 คน 25 บาท รวมเป็นเงิน 2000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 เมษายน 2564 ถึง 9 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้สูงอายุในพื้นที่ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ ตามหัวข้อที่ให้ความรู้ในแต่ละเดือน

2.ผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น

3.ผู้สูงอายุมีตัวอย่างเมนูสุขภาพในการดูเลตนเอง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5800.00

กิจกรรมที่ 4 สูงวัยใส่ใจสุขภาพ เดือนที่2

ชื่อกิจกรรม
สูงวัยใส่ใจสุขภาพ เดือนที่2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมสูงวัยใส่ใจสุขภาพ เดือนที่ 2 โดยมีกิจกรรมดังนี้

1.มีการให้ความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้อายุสูงการดูแลสุขภาพด้านสุนไพรป้องกันโรค

2 จัดทำแปลงสาธิต และสมุนไพรป้องกันโรค ตามหลักภูมิปัญญาพื้นบ้าน

3.มีการสาธิตและแนะนำเมนูสุขภาพในผู้สูงอายุ

งบประมาณ

-ค่าวิทยากร 3ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1800บาท

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมโครงการและคณะทำงาน รวม 80 คน 25 บาท รวมเป็นเงิน 2000 บาท

จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สาธิตทำสวนสมุนไพร

  • กระถาง จำนวน 60 กระถาง กระถางละ 50 บาท รวมเป็นเงิน 3,000 บาท

  • ดินหมักอินทรีย์ จำนวน 50 ถุง ๆละ 35 บาท รวมเป็นเงิน 1,750 บาท

  • ค่าต้นสมุนไพร จำนวน 60 ต้นๆละ 50 บาท ใช้สาธิตและมอบให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำไปปลูกในบริเวณบ้าน รวมเป็นเงิน 3,000 บาท

  • ปุ๋ยคอก จำนวน 50 กระสอบ กระสอบละ 20 บาท รวมเป็นเงิน 1,000 บาท

  • ถุงดำเพาะต้นไม้ จำนวน 2 กิโลกรัม กิโลกรัมละ 70 บาทรวมเป็นเงิน 140 บาท

รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 12690 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
14 พฤษภาคม 2564 ถึง 14 พฤษภาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้สูงอายุในพื้นที่ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ และสามารถใช้สมุนไพรตามหลักภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดูแลตนเอง

2.ผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น

3.ผู้สูงอายุมีตัวอย่างเมนูสุขภาพในการดูเลตนเอง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12690.00

กิจกรรมที่ 5 สูงวัยใส่ใจสุขภาพ เดือนที่3

ชื่อกิจกรรม
สูงวัยใส่ใจสุขภาพ เดือนที่3
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมสูงวัยใส่ใจสุขภาพ เดือนที่ 3 โดยมีกิจกรรมดังนี้

1.กิจกรรมเตรียมความพร้อมสู่วัยผู้สูงอายุ " สูงวัยทำงัยไม่ล้ม ก้าวสู่สังคมอย่างมั่ยใจ "

2 .มีการสาธิตและแนะนำเมนูสุขภาพในผู้สูงอายุ

งบประมาณ

-ค่าวิทยากร 3ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1800บาท

-อุปกรณ์สาธิตเมนูสุขภาพเดือนละ 1000 บาทเป็นเงิน 1000 บาท

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมโครงการและคณะทำงาน รวม 80 คน 25 บาท รวมเป็นเงิน 2000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
18 มิถุนายน 2564 ถึง 18 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องเตรียมความพร้อมสู่วัยผู้สูงอายุ " สูงวัยทำงัยไม่ล้ม ก้าวสู่สังคมอย่างมั่ยใจ " และสามารถปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

2.ผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น

3.ผู้สูงอายุมีตัวอย่างเมนูสุขภาพในการดูเลตนเอง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4800.00

กิจกรรมที่ 6 สูงวัยใส่ใจสุขภาพ เดือนที่ 4

ชื่อกิจกรรม
สูงวัยใส่ใจสุขภาพ เดือนที่ 4
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมสูงวัยใส่ใจสุขภาพ เดือนที่ 4 โดยมีกิจกรรมดังนี้


1.กิจกรรมเตรียมความพร้อมสู่วัยผู้สูงอายุ " โภชนาการสมวัย ด้วยอาหารชีวจิต"

2 .มีการสาธิตและแนะนำเมนูสุขภาพในผู้สูงอายุ

งบประมาณ

-ค่าวิทยากร 3ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1800บาท

-อุปกรณ์สาธิตเมนูสุขภาพเดือนละ 1000 บาทเป็นเงิน 1000 บาท

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมโครงการและคณะทำงาน รวม 80 คน 25 บาท รวมเป็นเงิน 2000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
18 มิถุนายน 2564 ถึง 18 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้สูงอายุในพื้นที่ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ เรื่องโภชนาการสมวัย ด้วยอาหารชีวจิต"

2.ผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น

3.ผู้สูงอายุมีตัวอย่างเมนูสุขภาพในการดูเลตนเอง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4800.00

กิจกรรมที่ 7 ติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-จากแบบทดสอบ ก่อนและหลังการทำกิจกรรม สูงวัยใส่ใจสุขภาพ -มีการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุก่อนและหลังการทำกิจกรรม

งบประมาณ ค่าถ่ายเอกสาร แบบทดสอบและแบบคัดกรองผู้สูงอายุ จันวนเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 กรกฎาคม 2564 ถึง 2 กรกฎาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-เกิดการทดสอบความรู้ผู้สูงอายุ ก่อนหลังการทำกิจกรรม -เกิดการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุก่อนและหลังการทำโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
500.00

กิจกรรมที่ 8 ถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพแบบพึ่งตนเองในผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
ถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพแบบพึ่งตนเองในผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-เชิญผู้เข้าร่วมโครงการ คณะทำงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินโครงการ 100คน
งบประมาณ

-ให้ประกาศเกียรติคุณผู้สูงอายุต้นแบบใส่ใจสุขภาพ

  • เมนูสาธิตอาหารเพื่อสุขภาพ

งบประมาณ
-ค่าวิทยากรดำเนินรายการ3ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1800บาท

-อุปกรณ์สาธิตเมนูสุขภาพละ 2000 บาทเป็นเงิน 1000 บาท

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมโครงการและคณะทำงาน รวม 10 คน 25 บาท รวมเป็นเงิน 2500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 กรกฎาคม 2564 ถึง 9 กรกฎาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-เรียนรู้ปัญหาอุปสรรคในการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อถอดออกมาปรับใช้ในกิจกรรมครั้งต่อไปและเป็นการเผยแพร่ข้อมูลในประชาชนทั่วไปทราบการทำกิจกรรมในพื้นที่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5300.00

กิจกรรมที่ 9 สรุปโครงการฉบับสมบูรร์ส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
สรุปโครงการฉบับสมบูรร์ส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สรุปโครงการฉบับสมบูรร์ส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพ

ระยะเวลาดำเนินงาน
24 กันยายน 2564 ถึง 24 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีรายงานฉบับสมบูรร์ส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 35,090.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเอง
2.ผู้สูงอายุสามารถพึ่งพาตนเองได้


>