กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคลองขุดร่วมใจ ใส่ใจการบริโภค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

คณะกรรมการหมู่บ้าน บ้านคลองขุด

1.นางปิยะลักษณ์ มีบุญ ตำแหน่งประธาน
2.นายวินัย ผ่องสุวรรณ
3.นายกิตติภัค อินทสระ
4.นายสุธรรม ดำชุม
5.นายกฤษณ์กัณฑ์รวี สุวรรณ์ เลขานุการ 0855786594

หมู่ที่ 4 บ้านคลองขุด ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตู

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

 

30.00
2 ร้อยละของประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

 

40.00
3 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

 

20.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลด ประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

ร้อยละของประชากร (อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

40.00 20.00
2 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

30.00 50.00
3 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

20.00 15.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 5
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 06/03/2021

กำหนดเสร็จ 30/07/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานโครงการฯ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานโครงการฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการคลองขุดร่วมใจใส่ใจการบริโภคและชี้แจงการสำรวจข้อมูลการบริโภคของประชากรในตำบลคลองขุดตามกลุ่มเป้าหมาย

  • ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท x22 คนเป็นเงิน 1,320 บาท

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมการประชุมจำนวน 22 คน x 25 บาท = 550 บาท

  • ค่าเอกสารรายเอียดโครงการ= 500 บาท

  • ค่าอาคารสถานที่ 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มีนาคม 2564 ถึง 6 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต(Output)

  • คณะทำงานมีการรับรู้ผลการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

  • คณะทำงานมองหากลุ่มเป้าหมายที่ชี้แจงตามแผนงาน ได้แก่ กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน กลุ่มวัยทำงาน และกลุ่มผู้สูงอายุ

ผลลัพธ์(Outcome)

  • คณะทำงานมีความเข้าใจเพิ่มขึ้นต่อโครงการร่วมกันกำหนดแผนงานขับเคลื่อนแผนการดำเนินงานตามโครงการฯ

  • คณะทำงานจัดทำการสรุปแผนงานการขับเคลื่อนโครงการตามแผนที่ชี้แจงไว้

  • คณะทำงานมองหากลุ่มเป้าหมายที่ชี้แจงตามแผนงาน ได้แก่ กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน กลุ่มวัยทำงาน และกลุ่มผู้สูงอายุ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2870.00

กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลด้านสุขภาพ การบริโภคของประชากรในตำบลคลองขุด

ชื่อกิจกรรม
สำรวจข้อมูลด้านสุขภาพ การบริโภคของประชากรในตำบลคลองขุด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ทำการสำรวจข้อมูลการบริโภคของประชากรในตำบลคลองขุดตามกลุ่มเป้าหมาย 1,473 ครัวเรือน

  • ค่าตอบแทนในการสำรวจข้อมูลการบริโภคในพื้นที่บ้านคลองขุดข้อมูล 1,437ชุด x 10 บาท = 14,370 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
13 มีนาคม 2564 ถึง 13 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ข้อมูลด้านการบริโภคของประชาชน 1473 ครัวเรือน ในตำบลคลองขุด
  • คณะทำงานลงพื้นที่สำรวจตามครัวเรือนที่อยู่ในกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน กลุ่มวัยทำงาน และกลุ่มผู้สูงอายุ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14730.00

กิจกรรมที่ 3 วิเคราะห์และคืนข้อมูลจากการเก็บข้อมูลด้านสุขภาพ การบริโภคในพื้นที่บ้านคลองขุด

ชื่อกิจกรรม
วิเคราะห์และคืนข้อมูลจากการเก็บข้อมูลด้านสุขภาพ การบริโภคในพื้นที่บ้านคลองขุด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.วิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอข้อมูลที่ทำการสำรวจ

2.ร่วมวางแผนดำเนินงานแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายในโครงการ

ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท x 22 คน เป็นเงิน1,320 บาท

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมการประชุมจำนวน 22 คน x 25 บาท = 550 บาท

  • ค่าเอกสารรายเอียดโครงการ = 500 บาท

  • ค่าจ้างเหมาทำความสะอาดและเตรียมสถานที่ 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
17 เมษายน 2564 ถึง 17 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-เกิดองค์ความรู้ทักษะใหม่ๆในการส่งเสริมการปลูกผักปลอกสารพิษพร้อมเรียนรู้วิถีใหม่ๆตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

-มีการแลกเปลี่ยนความรู้และปัญหาอุปสรรคต่างๆ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2870.00

กิจกรรมที่ 4 อบรมการปลูกผักพืชสวนครัวปลอดสารพิษเพื่อการบริโภคในหมู่บ้าน และการทำปุ่ยอินทรีย์

ชื่อกิจกรรม
อบรมการปลูกผักพืชสวนครัวปลอดสารพิษเพื่อการบริโภคในหมู่บ้าน และการทำปุ่ยอินทรีย์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิทยากรอบรมให้ความรู้ ในการปลูกผักปลอดสารพิษ และการทำปุ่ยอินทรียฺ์

  • ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท x 50 คนเป็นเงิน3000 บาท

  • ค่าตอบแทนวิทยากร 500 บาท

  • ค่าจ้างเหมาบริการทำความสะอาด 500 บาท

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมประชุม 50 คน x 25 บาท =1,250 บาท

  • ค่าเอกสารประกอบการอบรม 50 ชุด x 10 บาท = 500 บาท

  • ค่าเมล็ดพันธุ์พืช 2000 บาท

  • ค่าวัสดุ ในการฝึกปฎิบัติการทำปุยอินทรีย์2000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
24 เมษายน 2564 ถึง 24 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดกลุ่มก้อนการปลูกผักปลอดสารพิษเป็นวงกว้าง และประชาชนในพื้นที่ได้ปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทาน ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ลดรายต้นทุนรายได้ พืชผักใกล้บ้านสามารถปลูกกินเองได้ ผลผลิตเกิดเป็นจำนวนมากมีการนำมาจำหน่ายแก่ผู้บริโภคพร้อมทั้งยืนยันว่าพืชผักที่ออกมาปลอดสารพิษไม่เป็นอันตราย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9750.00

กิจกรรมที่ 5 ลงพื้นที่ติดตาม เยี่ยมบ้าน ครัวเรือนต้นแบบในการปลูกผัก จำนวน 4 เดือน

ชื่อกิจกรรม
ลงพื้นที่ติดตาม เยี่ยมบ้าน ครัวเรือนต้นแบบในการปลูกผัก จำนวน 4 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ลงพื้นที่เยี่ยม ติดตาม สังเกตุ พฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คนเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อติดตามความคืบหน้า

2.บันทึกข้อมูลรายบุคคล ปฎิทินการปลูกของครอบครัวต้นแบบ

ต่าใช้จ่าย

-ค่าพาหนะ น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางคณะกรรมการจำนวน 5 คนๆละ 300/ครั้ง จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 6,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
25 เมษายน 2564 ถึง 25 กรกฎาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เกิดกลไกการติดตามครอบครัวต้นแบบปลูกผักปลอดสารพิษ

2.มีพื้นที่ของชุมชนที่มีการปลูกผักเพิ่มขึ้น

3.มีผักที่มีความปลอดภัย ไว้สำหรับการบริโภคในครัวเรือน และจำหน่ายในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6000.00

กิจกรรมที่ 6 สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ถอดบทเรียน

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ถอดบทเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมสรุปผลการดำเนินการผลการติดตามระยะเวลา 3 เดือน หลังจากกิจกรรม

  • ค่าอาหารกลางวัน 60 x 22 คนเปฌนเงิน 320 บาท

  • ค่าอาหารว่างผู้เข้าร่วมการประชุมจำนวน 22 คน x 25 บาท = 550 บาท

  • ค่าเอกสารรายเอียดโครงการ= 500 บาท

  • ค่าจ้างเหมาทำความสะอาดและเตรียมสถานที่ 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กรกฎาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต(Output)

  • เกิดผลผลิตการปลูกพืชผักสวนครัวที่ปลอดสารพิษ

ผลลัพธ์(Outcome)

  • เกิดการขยายกลุ่มปลูกผักสวนครัวมากยิ่งขึ้น

  • ชาวบ้านได้บริโภคผักปลอดสารพิษ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2870.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 39,090.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการถัวเฉลี่ยกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

เกิดการส่งเสริมการปลูกพืชผักปลอดสารพิษไว้กินเองในครัวเรือนและมีการขยายวงกว้างไปยังใกล้เคียงครัวเรือยต่างๆประชาชนได้บริโภคอาสารพืชผักปลอดสารพิษอย่างปลอดภัย


>