กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันการเกิดซ้ำในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม/ศูนย์บริการสาธารณสุขด้านเวชกรรมฟื้นฟู เทศบาลเมืองสะเตงนอก เครือข่ายโรงพยาบาลยะลา

ห้องประชุมเทศบาลเมืองสะเตงนอก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อความเจ็บป่วยของโรคหลอดเลือดสมองซ้ำ มีความตระหนักในสภาวะของโรค รับรู้ความสามารถตนเอง รู้จักกำกับตนเอง และพัฒนาทักษะในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น

 

0.00
2 2.เพื่อสนับสนุนองค์ความรู้ที่ถูกต้อง และเกิดทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว ให้มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ งดสูบบุหรี่ และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์

 

0.00
3 3.เพื่อจัดการสิ่งแวดล้อมรอบตัวให้เหมาะสมกับผู้ป่วยและคนในครอบครัว

 

0.00
4 4.เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในด้านสุขภาพ

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 55
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/03/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมและเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบจำนวน55คนX35บาทx2มื้อx1วัน       เป็นเงิน 3,850 บาท 2. ค่าอาหารกลางวันพร้อมเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมและเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบจำนวน55คนX75บาทx1วัน       เป็นเงิน 4,125 บาท   3.ค่าป้ายไวนิลโครงการขนาด 1.5x3 เมตร                          เป็นเงิน 1,350 บาท   4.ค่าวิทยากร จำนวน1 คน x 6 ชม.ๆละ 500 บาท x 1วัน                          เป็นเงิน 3,000 บาท   5. ค่าวัสดุอุปกรณ์ (คู่มือการออกกำลังกายค่าแบบแบบประเมินและอื่นๆ)                       เป็นเงิน 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14325.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 ออกกำลังกายร่วมกัน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 ออกกำลังกายร่วมกัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมและเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบจำนวน55คนx35บาทx1มื้อx3วัน       เป็นเงิน 5,775 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5775.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อความเจ็บป่วยของโรคหลอดเลือดสมองซ้ำ มีความตระหนักเห็นความสำคัญในสภาวะของโรค รับรู้ความสามารถตนเอง รู้จักกำกับตนเอง และพัฒนาทักษะในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
2.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ที่ถูกต้องและเกิดทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว ให้มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ งดสูบบุหรี่ และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
3.ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักการจัดการสิ่งแวดล้อมรอบตัวให้เหมาะสมกับผู้ป่วยและคนในครอบครัว
4.ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างพฤติกรรมที่ดีในชุมชน


>