กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเกษตรอินทรีย์ชีวีปลอดภัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

โรงเรียนวัดทะเลน้อย(ลอยประชาคาร)

1.นายอนันต์ พูลเกื้อ
2.นางสาวปกาพันธ์คล้ายสมบัติ
3.นางวิจิตรา พรหมบุญแก้ว
4.นางอุไรวรรณ โรจนหัสดินทร์
5.นางพนิตาจันทมาศ

โรงเรียนวัดทะเลน้อย(ลอยประชาคาร) อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในโรงเรียน

 

15.00
2 ร้อยละของนักเรียนในโรงเรียนที่กินผัก อย่างน้อยวันละ 400 กรัม

 

20.00
3 ดินเสื่อมสภาพขาดธาตุอาหาร (ร่อง)

 

30.00
4 ร้อยละความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจหากไม่กินผัก/กินน้อย

 

33.00
5 ปริมาณปุ๋ยหมักสำหรับปลูกผักปลอดสารพิษ (กิโลกรัม)

 

50.00
6 ไม่มีตะกร้าสำหรับปลูกกะหล่ำปลี (ใบ)

 

0.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในโรงเรียน

ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในโรงเรียน เพิ่มขึ้น

15.00 25.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียนในโรงเรียนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม

ร้อยละของนักเรียนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้น

20.00 50.00
3 เพื่อลดปริมาณความเสี่ยงนักเรียนเป็นโรคหัวใจเนื่องจากขาดผักปลอดสารพิษรับประทาน

ร้อยละความเสี่ยงนักเรียนเป็นโรคหัวใจลดลง

33.00 10.00
4 เพื่อลดปริมาณดินเสื่อมสภาพขาดธาตุอาหาร

ปริมาณดินเสื่อมสภาพและขาดธาตุอาหารลดลง(ร่อง)

30.00 5.00
5 เพื่อเพิ่มปริมาณปุ๋ยหมักสำหรับปลูกผักปลอดสรพิษ

มีปุ๋ยหมักใช้ปลูกผักปลอดสารพิษเพิ่มขึ้น (กิโลกรัม)

50.00 1000.00
6 เพื่อจัดหาตะกร้าสำหรับปลูกผักกะหล่ำปลี

มีตะกร้าสำหรับปลูกผักกะหล่ำปลี (ใบ)

0.00 200.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 335
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ให้ความรู้แก่นักเรียนด้านการปลูกผักปลอดสารพิษ 2.ให้ความรู้แก่นักเรียนด้านการทำปุ๋ยหมัก 3. ให้ความรู้แก่นักเรียนการปลูกผักกะหล่ำปลีในตะกล้า โดยใช้วิทยากรที่เป็นเกษตรในชุมชน จำนวน 2 ชั่วโมง ๆ ละ 600บาท เป็นเงิน 2 X 600 =1,200บาท 4.ค่าอาหารว่าง นักเรียน จำนวนุ 70 คน ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 70 X 25 = 1,750 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ทำให้เด็กนักเรียนมีความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษ สามารถรู้วิธีการผลิตปุ๋ยหมักเพื่อใช้เอง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2950.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมทำปุ๋ยหมัก

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมทำปุ๋ยหมัก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดเตรียมวัสดุเพื่อใช้ในการจัดทำปุ๋ยหมัก
1.1 ขี้วัว30 กระสอบ ๆ ละ 40 บาท เป็นเงิน 30 X 40 = 1,200 บาท 1.2 แกลบ 20 กระสอบ ๆ ละ 40 บาท เป็นเงิน 20 X 40 = 800 บาท 1.3 กากน้ำตาล 80 กก. ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 80 X 10 = 800 บาท 1.4 รำข้าว 200 ก.ก.ๆ ละ 10 บาทเป็นเงิน 200 X 10 = 2,000 บาท 2.ลงมือทำปุ๋ยหมัก จำนวน 3 รุ่น ๆ ละ 20 คนค่าอาหารว่างคนละ 25 บาท เป็นเงิน 3 X 20 X 25 = 1,500 บาท,

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ทำให้มีปุ๋ยหมักใช้ในการเกษตร ลดการใช้ปุ๋ยเคมี ทำให้ได้ผักปลอดสารเคมี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6300.00

กิจกรรมที่ 3 ปลูกผัก

ชื่อกิจกรรม
ปลูกผัก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.เตรียมร่องผักขุดดิน
2.ใส่ปุ๋นอินทรีย์ 3.ปลูกผัก จำนวน 30 ร่อง ค่าพันธุ์ผัก 1000 บาท 4.รดน้ำดูแลรักษา ค่าบัวรดน้ำ10 ใบ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 10 X 50 = 500 บาท 5.ค่าจอบขุดดิน4 ด้าม ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน 4 X 600 = 2,400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2564 ถึง 16 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีผักอินทรีย์ปลอดสารเคมีให้เด็กได้รับประทาน จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 30 ร่อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3900.00

กิจกรรมที่ 4 ปลูกกะหล่ำปลีในตะกร้า

ชื่อกิจกรรม
ปลูกกะหล่ำปลีในตะกร้า
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ซื้อเมล็ดพันธ์ูผักกะน้ามาเพาะชำลงแผงชำค่าพันธุ์ผัก20 ซอง ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 20 X 30 = 600 บาท ค่าแผงชำ 5 แผง ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 5 X 50 = 250 บาท
  2. ชำต้นอ่อนลงถุงชำค่าถุงชำ 200 ใบ ๆ ละ 1 บาท เป็นเงิน 200 X 1 = 200 บาท
  3. ซื้อตะกร้าพลาสติคสำหรับปลูก ขนาด40 X 40ตร.ซม.จำนวน 200 ใบ ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 200 X 30 = 6,000 บาท
  4. เตรียมดินผสมลงตะกร้า นำกล้าชำมาปลูก บำรุงดูแลรักษา 5.นำผลผลิตไปให้นักเรียนทำอาหารรับประทานที่บ้าน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้ผักกะหล่ำปลีปลอดสารพิษ จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 200 ก.ก. ทั้งหมด 400 ก.ก.

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6450.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. นักเรียนมีความรู้ สามารถทำปุ๋ยหมักและปลูกผักปลอดสารพิษ
2. นักเรียนมีผักปลอดสารพิษบริโภค
3. เพิ่มปริมาณการกินผักมากยิ่งขึ้น
4. สามารถเพิ่มพื้นที่การทำเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน
5. ลดอัตราเสี่ยงการเป็นโรคหัวใจและโรคมะเร็ง
6. นักเรียนเห็นตัวอย่างการปลูกผักคะน้าในตะกร้าสามารถนำไปปลูกที่บ้าน


>