กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการวัยรุ่น วัยใสมะรือโบออก ไม่ใส่ใจ ยาเสพติด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

ชมรมบัณฑิตอาสาฯตำบลมะรือโบออก

น.ส.สุรายา หะยีเจ๊ะแว ตำแหน่งประธานโทร 0898797851
น.ส.รอฮานา สนิโซ
น.ส.ไอนุง ดอเล๊าะ
น.ส.สุไรดา อาลีเย๊าะ
น.ส.อาสวานี ดอเล๊าะ

ตำบลมะรือโบออก อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 กิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ(กิจกรรม)

 

2.00
2 มาตรการทางสังคม หรือแนวทางปฏิบัติในเชิงนโยบายของชุมชน หรือการสร้างข้อตกลงร่วมในการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน(มาตราการ)

 

1.00
3 จำนวนผู้ที่ผ่านการบำบัดและกลับมาใช้ชีวิตเป็นปกติในชุมชน(คน)

 

2.00

ในหมู่บ้านปัญหาหลักเริ่มต้น เกิดจากการปลูกกระท่อมกิน จากนั้นค่อยๆพัฒนาไปเป็นยาเสพติดอย่างอื่น ปัญหาต่างๆมากมายเกิดขึ้นตามมา ขึ้นบ้านลักขโมย ผลผลิตทางการเกษตรของชาวบ้านหายหด เพราะพิษของยาเสพติด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ผ่านการบำบัดและกลับมาใช้ชีวิตเป็นปกติในชุมชน

จำนวนผู้ที่ผ่านการบำบัดและกลับมาใช้ชีวิตเป็นปกติในชุมชน เพิ่มขึ้นเป็น(คน)

2.00 4.00
2 เพื่อเพิ่มมาตรการทางสังคม หรือแนวทางปฏิบัติในเชิงนโยบายของชุมชน หรือการสร้างข้อตกลงร่วมในการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน

มาตรการทางสังคม หรือแนวทางปฏิบัติในเชิงนโยบายของชุมชน หรือการสร้างข้อตกลงร่วมในการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนเพิ่มขึ้นเป็น (มาตราการ)

1.00 2.00
3 เพื่อเพิ่มกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ

กิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำเพิ่มขึ้นเป็น(กิจกรรม)

2.00 3.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 10/03/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ค่ายบรรยายธรรมยาเสพติด

ชื่อกิจกรรม
ค่ายบรรยายธรรมยาเสพติด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดกิจกรรมค่ายบรรยายธรรมเรื่องยาเสพติด โดยเขิญวิทยากรที่เป็นแรงบันดาลใจของเยาวชน เช่น เชิญบาบอดิงมาบรรยาย ค่าใช้จ่าย
1.ค่าอาหารว่างพักเบรค 40 คนX25บาท =1,000 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน40 คน X50 บาท= 2,000 บาท
3.ค่าวิทยากร 300 บาท/ชม x 3ชม.=900 บาท
4.ค่าเอกสาร 1,200 บาท
5.ค่าพาหนะ 50 บาท X 40คน =2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สามารถเป็นแรงใจให้เยาวชน คิดได้ คิดเป็น ห่างไกลจากยาเสพติด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8100.00

กิจกรรมที่ 2 นันทนาการ เล่นกีฬา พาเยาวชนห่างไกลยาเสพติด

ชื่อกิจกรรม
นันทนาการ เล่นกีฬา พาเยาวชนห่างไกลยาเสพติด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.นำปราชญ์ชุมชนมาสอนการละเล่นกีฬาพื้นเมือง เช่น สีละ ลิเกฮูลู เป็นต้น
2.เยาวชนกลุ่มเสี่ยงนำการละเล่นมาใช้ออกกำลังกายในช่วงบ่ายของวันเสาร์ ร่วมกับคนในครอบครัว จำนวน 3 เดือน ค่าใช้จ่าย
1.ค่าเครื่องดื่ม 15 บาท X40 คนX12 ครั้ง =7200 บาท
2.ค่าอาหาร 50 บาท X40 คน=2,000 บาท
3.ค่าวิทยากรปราชญ์นำสอนการใช้การละเล่นพื้นบ้าน 300 บาทX4 ชม.=1,200 บาท
4.ค่าเอกสาร=1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 เมษายน 2564 ถึง 10 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สร้างความสามัคคี ให้เกิดขึ้นภายในกลุ่ม ลดปัญหาความเครียด ความหวาดระแวงต่างๆ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ทำให้ชีวิตของเยาวชนมีความสดใสขึ้น ไม่เครียด ไม่กังวล หากมีกิจกรรมที่สามารถเข้ากลุ่มได้


>