กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนวดคอ บ่า ไหล่ เพื่อสุขภาพ (ประเภทที่ 1) ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเนตรสกาว ศรีสุวรรณ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนวดคอ บ่า ไหล่ เพื่อสุขภาพ (ประเภทที่ 1)

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64 – L7452 - 1 – 3 เลขที่ข้อตกลง 6-2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2021 ถึง 30 กันยายน 2021


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนวดคอ บ่า ไหล่ เพื่อสุขภาพ (ประเภทที่ 1) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนวดคอ บ่า ไหล่ เพื่อสุขภาพ (ประเภทที่ 1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนวดคอ บ่า ไหล่ เพื่อสุขภาพ (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64 – L7452 - 1 – 3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2021 - 30 กันยายน 2021 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,453.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาการปวดคอ บ่า ไหล่ เป็นกลุ่มอาการที่พบได้บ่อยในวัยทำงานและวัยรุ่นยุคใหม่ ปัจจุบันอาการเจ็บป่วยจากการทำงานถือเป็นเรื่องใกล้ตัวและมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ จากข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าร้อยละ 60 ของคนวัยทำงานมีภาวะปวดคอ บ่า ไหล่ โดยอาการที่พบอันดับหนึ่งคืออาการปวดหลัง บ่า รองลงมาคืออาการปวดคอ/ไหล่ และปวดศีรษะตามลำดับ และนอกจากนี้ยังพบว่ากลุ่มคนอายุระหว่าง 16 – 24 ปี มีความเสี่ยงของภาวะดังกล่าวสูงถึงร้อยละ 55 ซึ่งสาเหตุหลัก คือ การไม่เปลี่ยนอิริยาบถระหว่างการทำงาน หรือการอยู่ในอิริยาบถที่ไม่เหมาะสม การนั่งหลังค่อม ท่าก้มหรือเงยคอมากเกินไป รวมถึงความเครียด ส่งผลให้เกิดอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อ่อนล้า อ่อนเพลีย หากมีอาการเรื้อรังอาจนำไปสู่ กล้ามเนื้ออักเสบ พังผืดสะสมบริเวณกล้ามเนื้อ รวมไปถึงอาการปวดกล้ามเนื้อต้นคอ ร้าวขึ้นไปบริเวณขมับและกระบอกตาได้ สำหรับแนวทางในการรักษาอาการปวดคอ บ่า ไหล่จากการทำงานมีหลากหลายวิธี เช่น การรักษาด้วยยา การรักษาด้วยวิธีเวชศาสตร์ฟื้นฟู การปรับอิริยาบถให้ถูกต้อง การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มสมรรถภาพร่างกาย รวมถึงการรักษาด้วยศาสตร์ทางเลือกอื่นๆ เช่น การฝังเข็ม การนวดแผนไทย เป็นต้น
อาการปวดคอ บ่า ไหล่ ทางการแพทย์แผนไทยจัดเป็นโรคลมชนิดหนึ่ง สามารถเทียบได้กับกลุ่มโรคลมปลายปัตคาด ซึ่งเกิดจากการแข็งตัวของเลือด เนื่องจากความเครียด การทำงานหนัก พักผ่อนไม่เพียงพอ ท่าทาง อิริยาบถต่าง ๆ ที่ไม่ถูกต้อง เมื่อโรคนี้เกิดขึ้นกับกล้ามเนื้อหลัง คอ บ่า และไหล่ จะทำให้เกิดอาการปวดเมื่อยบริเวณดังกล่าว ปัจจุบันทางการแพทย์แผนไทยจึงได้มีการนำหัตถการ การนวดไทยมาใช้ในบำบัดรักษาโรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูก ซึ่งการนวดจะส่งผลต่อระบบไหลเวียนเลือด ระบบประสาท ลดความเกร็งตัวของกล้ามเนื้อ ทำให้รู้สึกผ่อนคลายและคลายเครียด
จากการสำรวจประชาชนในเขตเทศบาลนครยะลา โดยการตอบแบบสอบถามออนไลน์ ณ เดือน พฤศจิกายน 2563 โดยงานแพทย์แผนไทย สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา เรื่องการศึกษาพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดคอ บ่า ไหล่ ทั้งหมด 140 ราย ผลการสำรวจพบว่า กลุ่มอายุที่มีอาการปวดคอ บ่า ไหล่มากที่สุด คือ41 – 50 ปี รองลงมา 26 – 40 ปีอายุ 51 ปีขึ้นไป และอายุ 15 – 25 ปี คิดเป็นร้อยละ 42.4, 33.1, 16.5 และ 7.9 ตามลำดับ โดยกลุ่มคนส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 95.7 ต้องใช้คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คหรือสมาร์ทโฟนในการทำงานหรือใช้ในชีวิตประจำวันอย่างต่อเนื่อง โดยมีการใช้งานมากกว่าครั้งละ 1 ชั่วโมง และพบกลุ่มคนที่มีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ ขณะทำงานหรืออยู่กับที่เป็นเวลานานถึงร้อยละ 92.1 ซึ่งสาเหตุหลักของอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ คือ การไม่เปลี่ยนอิริยาบถระหว่างการทำงาน คิดเป็นร้อยละ 58.2 รองลงมาคือ การนั่งหลังงอ หลังค่อม คิดเป็นร้อยละ17.2 และจากความเครียด คิดเป็นร้อยละ13.1 ตามลำดับ ซึ่งระดับความปวด ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปวดเล็กน้อย สามารถทนได้ทั้งวัน คิดเป็นร้อยละ 51.8 ปวดระดับปานกลาง สามารถทนทำงานต่อได้มากกว่า 30 นาที คิดเป็นร้อยละ 33.1 โดยระดับความรบกวนการทำงานและชีวิตประจำวันจากอาการปวดเหล่านี้ พบว่า รบกวนเล็กน้อย สามารถทนได้ทั้งวัน คิดเป็นร้อยละ 46 รองลงมาคือ รบกวน แต่ยังสามารถทนทำงานและใช้ชีวิตได้ตามปกติ คิดเป็นร้อยละ 41.4 โดยกลุ่มคนที่มีอาการปวดคอ บ่า ไหล่ที่เคยได้รับการดูแลรักษามีเพียงร้อยละ 38.4 และอีกร้อยละ 61.6 ยังไม่เคยได้รับการดูแลรักษาอาการปวดเหล่านี้ ดังนั้นงานแพทย์แผนไทยกลุ่มงานบริการการแพทย์และสาธารณสุข สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของอาการดังกล่าวจึงได้จัดทำ “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนวดคอ บ่า ไหล่ เพื่อสุขภาพ ” ขึ้น เพื่อช่วยส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงปัญหาสุขภาพของตนเอง รู้เท่าทัน สามารถป้องกันตนเองจากอาการปวดคอ บ่า ไหล่ได้ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม มีความรู้และทักษะการนวดเพื่อบรรเทาอาการปวดคอ บ่า ไหล่ สามารถดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อป้องกันอาการปวดคอ บ่า ไหล่
  2. ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะที่ถูกต้องในการนวดคอ บ่า ไหล่เบื้องต้นเพื่อใช้ในการดูแลและป้องกันอาการปวดคอ บ่า ไหล่เรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และฝึกการนวดคอ บ่า ไหล่ เบื้องต้น
  2. การติดตามและประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเองและป้องกันอาการปวดคอ บ่า ไหล่
  2. ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ในศาสตร์การแพทย์แผนไทยไปประยุกต์ใช้ในการดูแล ป้องกันสุขภาพตนเองจากอาการปวดคอ บ่า ไหล่ ได้ถูกต้องและปลอดภัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อป้องกันอาการปวดคอ บ่า ไหล่
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพของตนเองกับอาการปวดคอ บ่า ไหล่ 2. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความพึงพอใจในการจัดอบรม
0.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะที่ถูกต้องในการนวดคอ บ่า ไหล่เบื้องต้นเพื่อใช้ในการดูแลและป้องกันอาการปวดคอ บ่า ไหล่เรื้อรัง
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วมผ่านการประเมินทักษะการนวดคอ บ่า ไหล่เบื้องต้นเพื่อดูแลสุขภาพตนเองได้ 4. ร้อยละ 40 ของผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อป้องกันอาการปวดคอ บ่า ไหล่ (2) ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะที่ถูกต้องในการนวดคอ บ่า ไหล่เบื้องต้นเพื่อใช้ในการดูแลและป้องกันอาการปวดคอ บ่า ไหล่เรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และฝึกการนวดคอ บ่า ไหล่ เบื้องต้น (2) การติดตามและประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนวดคอ บ่า ไหล่ เพื่อสุขภาพ (ประเภทที่ 1) จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64 – L7452 - 1 – 3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเนตรสกาว ศรีสุวรรณ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด