กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสีขาว ครอบครัวปลอดควันบุหรี่ Stop smoke Stop Disease ในเขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 1) ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางนิยะดา แวโดยี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสีขาว ครอบครัวปลอดควันบุหรี่ Stop smoke Stop Disease ในเขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 1)

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64 – L7452 – 1 – 7 เลขที่ข้อตกลง 10-2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2021 ถึง 30 กันยายน 2021


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสีขาว ครอบครัวปลอดควันบุหรี่ Stop smoke Stop Disease ในเขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 1) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสีขาว ครอบครัวปลอดควันบุหรี่ Stop smoke Stop Disease ในเขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสีขาว ครอบครัวปลอดควันบุหรี่ Stop smoke Stop Disease ในเขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64 – L7452 – 1 – 7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2021 - 30 กันยายน 2021 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,295.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในแต่ละปีมีคนไม่สูบบุหรี่หลายแสนคนต้องเสียชีวิตด้วยโรคที่เกิดจากการได้รับควันบุหรี่มือสอง ซึ่งควันบุหรี่ในบรรยากาศ หรือควันบุหรี่มือสองนั้นเกิดจาก 2 แหล่ง คือ ควันบุหรี่ที่ผู้สูบบุหรี่พ่นออกมา และควันบุหรี่ที่ลอยจากปลายมวนบุหรี่ทันทีที่บุหรี่ถูกจุดขึ้น การเผาไหม้ของมวนบุหรี่จะทำให้เกิดสารเคมีซึ่งเป็นสารพิษอันตราย ทั้งในควันที่สูดเข้าไปและควันที่ลอยอยู่ในอากาศ เป็นเหตุผลให้คนใกล้ชิดผู้สูบบุหรี่มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยได้ไม่แพ้ผู้สูบนั่นเอง 1.หญิงมีครรภ์และเด็กทารก มีโอกาสเกิดโรคแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์และคลอดบุตร โดยอาจมีอาการครรภ์เป็นพิษ แท้ง คลอดก่อนกำหนด และเกิดอาการไหลตายในเด็กสูงขึ้นมีความเสี่ยงที่ทารกแรกคลอดจะมีน้ำหนักตัวและความยาวน้อยกว่าปกติ พัฒนาการทางสมองช้ากว่าปกติ และอาจมีความผิดปกติทางระบบประสาท และระบบความจำ 2.เด็กเล็ก ทำให้เกิดความเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ เช่น หลอดลมอักเสบ ปอดบวม และมีอัตราการเกิดโรคหอบหืดเพิ่มขึ้น เกิดการติดเชื้อของหูส่วนกลางในระยะยาว เด็กที่ได้รับควันบุหรี่มือสองจะมีพัฒนาการของปอดน้อยกว่าเด็กที่ไม่ได้รับควันบุหรี่ 3.ผู้ใหญ่ เสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจเพิ่มขึ้น 25-30%เสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปอดเพิ่มขึ้น 20-30%เสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งที่ลำคอมากกว่าผู้ที่ไม่ได้รับควันบุหรี่ 3 เท่า เสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งในส่วนอื่นๆของร่างกาย ได้แก่ กล่องเสียง ช่องปาก หลอดอาหาร และกระเพาะปัสสาวะ มากกว่าผู้ที่ไม่ได้รับควันบุหรี่ถึง 2 เท่า ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบ หลอดเลือดหัวใจทันทีที่ได้รับควันบุหรี่มือสอง สำหรับผู้ที่มีอาการหอบ หืด โรคหัวใจ และโรคหลอดลมอักเสบ จะทำให้อาการของโรคเพิ่มมากขึ้น (สสส,2562)และจากการประกาศ พ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ.2562 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 22 พ.ค.2562 ฉบับนี้ได้เน้นเรื่องของการป้องกันความรุนแรงในครอบครัว ส่งเสริมครอบครัว และคุ้มครองสวัสดิภาพบุคคล ซึ่งการสูบบุหรี่ในบ้านเข้าข่ายมีความผิดทางอาญาฐานก่อความรุนแรงในครอบครัวเพราะทำลายสุขภาพคนในบ้านซึ่งจากตามนิยามความรุนแรงในครอบครัวที่กำหนดไว้ชัดเจนว่าเป็นการกระทำใด ๆ ที่บุคคลในครอบครัวได้กระทำต่อกันโดยเจตนาให้เกิดหรือในลักษณะที่น่าจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ร่างกาย จิตใจ สุขภาพ เสรีภาพ หรือชื่อเสียงของบุคคลในครอบครัว การสูบบุหรี่ในบ้านจึงก่อให้เกิดความรุนแรงในครอบครัว ได้แก่.การสูบบุหรี่ในบ้านก่อให้เกิดการทำให้สัมพันธภาพครอบครัวน้อยลงเพราะลูกและภรรยาไม่อยากที่จะเข้าใกล้ หรือก่อให้เกิดพฤติกรรมลอกเลียนแบบในการสูบบุหรี่ อาจจะนำสู่การก่อความรุนแรงทางกายหรือความรุนแรงทางจิตใจเพราะอาการหงุดหงิด อาการก้าวร้าวด้วยกายและวาจา เมื่อขาดการสูบบุหรี่การสูบบุหรี่ในบ้านคนที่อาศัยจะได้รับควันบุหรี่มือสองและมือสามทั้งนี้การพิจารณาโทษการผิด พ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัวฉบับใหม่นี้ อาจจะต้องขึ้นศาล 2 ศาล คือทั้ง ศาลอาญาและศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง ซึ่งศาลอาจมีคำสั่งให้คุ้มครองคนในครอบครัวและสั่งบังคับให้ผู้ที่สูบบุหรี่และทำให้เกิดปัญหาในบ้านเข้ารับการบำบัดและเลิกบุหรี่ เพื่อจะได้ไม่ให้ทำพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความรุนแรงขึ้นอีก (โพสต์ทูเดย์,2562) จากการเก็บข้อมูลผู้ปกครองทั้งหมดจำนวน 224 คน พบว่าผู้ปกครองที่สูบบุหรี่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตเทศบาลนครยะลา (5 แห่ง)มีจำนวนทั้งหมด 65 คนคิดเป็นร้อยละ 29.0 ประเภทชนิดของบุหรี่พบว่า บุหรี่ที่มวนเอง มีจำนวนทั้งหมด 13 คนคิดเป็นร้อยละ 20 บุหรี่ชนิดที่มีก้นกรอง มีจำนวนทั้งหมด 52 คนคิดเป็นร้อยละ 80 และจากจำนวนเด็ก 201 คน มีจำนวนเด็กป่วยด้วยโรคหอบหืด 6 คน คิดเป็นร้อยละ 2.98 จากสภาพปัญหาดังกล่าว งานเฝ้าระวังและป้องกันยาเสพติด ได้เล็งเห็นผลต่อการสูญเสียสุขภาพและทรัพย์สิน และอาจเกิดความพิการและเสียชีวิตที่จะตามมา การเกิดโรคที่เกิดจากบุหรี่มือ 1 มือ 2 และมือ 3มีความรู้ในการจัดการการเลิกบุหรี่ได้ด้วยตนเองและทางเลือกในการ เลิกบุหรี่ด้วยวิธีอื่น ๆ จึงได้จัดโครงการนี้เกิดขึ้นเพื่อให้มีความรู้ โทษพิษภัยจากบุหรี่ ตระหนัก โทษทางกฎหมายจากการสูบบุหรี่ สามารถนำความรู้ไปนำไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้บรรลุการเลิกบุหรี่ได้ และเป็นตัวอย่างที่ดีแก่คนในครอบครัว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องโทษ อันตรายจากการสูบบุหรี่
  2. 2 เพื่อเพิ่มอัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือนของผู้ปกครอง โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ
  3. 3 ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่อง พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 และ พ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ.2562

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติติการ ครูร่วมกับผู้ปกครอง 50 คน ประชาชนทั่วไปที่สนใจ 10 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจำนวน 4 คน รวม 64 คน ระยะเวลา 1 วัน
  2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ศูนย์เด็กเล็กปลอดบุหรี่
  3. กิจกรรมที่ 3 การประชุมสรุป/มอบประกาศนียบัตรและประเมินผลการเลิกบุหรี่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเมื่อครบ 6 เดือน ครูร่วมกับผู้ปกครอง 50 คน ประชาชนทั่วไปที่สนใจ 10 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจำนวน 4 คน รวม 64 คน (ครึ่งวัน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีอัตราสามารถเลิกบุหรี่ได้สำเร็จครบ 6 เดือน
  2. มีความรู้เรื่องโทษ อันตรายจากการสูบบุหรี่และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
  3. สามารถนำความรู้และวิธีการที่ได้จากวิทยากรมาประยุกต์ใช้กับตนเองเพื่อเลิกบุหรี่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องโทษ อันตรายจากการสูบบุหรี่
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ100 2.ร้อยละของผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.มีความรู้และตระหนักโทษของพิษภัยของบุหรี่ สารเสพติด ร้อยละ 80
0.00

 

2 2 เพื่อเพิ่มอัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือนของผู้ปกครอง โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ
ตัวชี้วัด : 4. อัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือนโดยไม่กลับไปสูบซ้ำของผู้ปกครองในศูนย์เด็กเล็กร้อยละ 10
0.00

 

3 3 ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่อง พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 และ พ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ.2562
ตัวชี้วัด : 5.ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่อง พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 และ พ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ.2562 ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องโทษ อันตรายจากการสูบบุหรี่ (2) 2 เพื่อเพิ่มอัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน  6 เดือนของผู้ปกครอง โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ (3) 3 ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่อง พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 และ พ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ.2562

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติติการ ครูร่วมกับผู้ปกครอง 50 คน ประชาชนทั่วไปที่สนใจ 10 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจำนวน 4 คน รวม      64 คน ระยะเวลา 1 วัน (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ศูนย์เด็กเล็กปลอดบุหรี่ (3) กิจกรรมที่ 3 การประชุมสรุป/มอบประกาศนียบัตรและประเมินผลการเลิกบุหรี่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเมื่อครบ 6 เดือน ครูร่วมกับผู้ปกครอง 50 คน ประชาชนทั่วไปที่สนใจ 10 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจำนวน 4 คน รวม 64 คน (ครึ่งวัน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสีขาว ครอบครัวปลอดควันบุหรี่ Stop smoke Stop Disease ในเขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 1) จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64 – L7452 – 1 – 7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนิยะดา แวโดยี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด