กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังยาง


“ โครงการชุมชนลดเค็ม ลดโรคความดันโลหิตสูงบ้านวังน้ำ ”

ตำบลวังยาง อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกาญจนา หยวกกลิ่น

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนลดเค็ม ลดโรคความดันโลหิตสูงบ้านวังน้ำ

ที่อยู่ ตำบลวังยาง อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัด กำแพงเพชร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนลดเค็ม ลดโรคความดันโลหิตสูงบ้านวังน้ำ จังหวัดกำแพงเพชร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังยาง อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังยาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนลดเค็ม ลดโรคความดันโลหิตสูงบ้านวังน้ำ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนลดเค็ม ลดโรคความดันโลหิตสูงบ้านวังน้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังยาง อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังยาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงและการบาดเจ็บของสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ปี พ.ศ 2560 ในส่วนของการบริโภคเกลือ คนไทยส่วนใหญ่ยังมีความเข้าใจผิดว่า สิ่งที่ให้ความเค็มหรือเกลือโซเดียมมีอยู่ในเกลือหรือน้ำปลาเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันมีเครื่องปรุงรส เช่น ซอส ผงปรุงรส ผงชูรส รวมไปถึงอาหารกึ่งสำเร็จรูปต่างๆ เช่น บะหมี่-โจ๊กกึ่งสำเร็จรูป ปลากระป๋อง ขนมกรุบกรอบ ล้วนมีสารให้ความเค็ม (เกลือโซเดียม) เป็นส่วนประกอบ ล่าสุดพบคนไทยบริโภคเกลือโซเดียมเฉลี่ย 4,351.7 มิลลิกรัมต่อวันหรือกว่า 2 ช้อนชา เกินกว่าที่องค์การอนามัยโลกคือ 2,000 มิลลิกรัมหรือ 1 ช้อนชาต่อวัน และกลุ่มอายุ 25-59 ปี เป็นกลุ่มอายุที่กินเค็มมากที่สุด โดยการบริโภคอาหารที่มีรสเค็มอย่างต่อเนื่อง เป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับ 2 ที่ทำให้เกิดภาวะความดันโลหิตสูง นำไปสู่โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคไตเรื้อรัง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน ที่มีแนวโน้มเพิ่งสูงขึ้น ซึ่งโรคดังกล่าวป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคลดหวาน มัน เค็ม ในชุมชนบ้านวังน้ำ หมู่ 4 ตำบลวังยาง มีผู้ป่วยเป็นโรคไตเรื้อรังจำนวน 8 คน มีผุ้ป่วยโรคเบาหวาน 44 คน โรคความดันโลหิตสูง 114 คน และมีประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน เสี่ยงความดันโลหิตสูง และเสี่ยงโรคไตอีกจำนวนหนึ่งด้วย โดยส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ จากการบริโภคอาหาร การขาดการออกกำลังกาย ไม่ปฏิบัติตนที่ถูกต้องตามพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. (ออกกำลังกาย อาหาร อารมณ์ สุรา สูบบุหรี่) ทำให้มีภาวะอ้วนลงพุง ปัญหารอบเอวเกินและขาดการตรวจสุขภาพเพื่อคัดกรองโรคประจำปี จึงทำให้เกิดโรคต่างๆตามมา ส่งในทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร จากโครงการชาวชุมชนคนไทดำวังน้ำส่งเสริมการดูแลสุขภาพเพื่อหลีกเลี่ยงโรคไม่ติดต่อ ปี 2563 ในการจัดทำโครงการได้ให้ผู้เข้าร่วมโครงการทำแบบทดสอบก่อน-หลังการอบรมและแบบประเมินความเสี่ยงนคร 2 ส.และตรวจค่าการกรองของไต (eGFR) ของผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 60 คน และในปีงบประมาณ 2564 ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังยางจึงจัดทำโครงการชุมชนลดเค็ม ลดโรคความดันโลหิตสูงบ้านวังน้ำ เพือคนข้อมูลจากการทำแบบทดสอบก่อนและหลังการอบรมและแบบประเมินความเสี่ยง นคร 2 ส. และผลการตรวจค่าการกรองของไต (eGFR) ให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 60 คน และได้เล็งเห็นความสำคัญของการบริโภคอาหารจึงมีการเชิญชวนร้านค้าจำนวน 4 ร้าน ในหมู่บ้านเข้าร่วมโครงการด้วย การส่งเสริมประชาชนในหมู่บ้นให้ปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารและเกลือ ออกกำลังกาย และการจัดการความเครียดรวมทั้งไม่สูบบุหรี่และไม่ดื่มสุราได้นั้นจะช่วยให้สามารถลดความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังต่างๆ ได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังยางเล็งเห็นความสำคัญของการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพที่เกิดขึ้นโดยการป้องกันให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถดูแตนเองเพื่อไม่ให้กลายเป็นกลุ่มป่วยและเพื่อให้กลุ่มป่วยสามารถควบคุมอาการตนเองและลดภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นได้โดยการดำเนินงานโดยภาคีเครือข่ายในระดับต่างๆ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ตื่นตัวในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่องและสามารถขยายแนวทางการดำเนินงานให้กับหมู่บ้านอื่นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีโซเดียมสูงในชุมชนบ้านวังน้ำ 2. เพื่อลดผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยในชุมชนบ้านวังน้ำ 3. เพื่อเพิ่มการเข้าถึงระบบบริการ/การวินิจฉัยผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยในพื้นที่ชุมชนบ้านวังน้ำ 4.เพื่อส่งเสริมความรู้การปฏิบัติตนที่ถูกต้องตามพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. 5.เพื่อให้หมู่บ้านเป็นตัวอย่าง หมู่บ้าน ลดเค็ม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการชุมชนลดเค็ม ลดโรคความดันโลหิตสูงบ้านวังน้ำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เกิดชุมชน ลดโรค ลดภัยสุขภาพ อย่างยั่งยืน 2 ร้านค้า/ร้านอาหารในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมเมนูอาหารลดเค็ม ลดโซเดียม
3 กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมสามารถอ่านค่าโซเดียม และคำนวณโซเดียมที่ควรบริโภคต่อวันของตนเองได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีโซเดียมสูงในชุมชนบ้านวังน้ำ 2. เพื่อลดผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยในชุมชนบ้านวังน้ำ 3. เพื่อเพิ่มการเข้าถึงระบบบริการ/การวินิจฉัยผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยในพื้นที่ชุมชนบ้านวังน้ำ 4.เพื่อส่งเสริมความรู้การปฏิบัติตนที่ถูกต้องตามพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. 5.เพื่อให้หมู่บ้านเป็นตัวอย่าง หมู่บ้าน ลดเค็ม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อ
ตัวชี้วัด : 1.ลดผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงจำนวน 10 คน 2.มีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรมมอาหารมากขึ้นจำนวน 10 คน
64.00 52.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีโซเดียมสูงในชุมชนบ้านวังน้ำ  2. เพื่อลดผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยในชุมชนบ้านวังน้ำ  3. เพื่อเพิ่มการเข้าถึงระบบบริการ/การวินิจฉัยผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยในพื้นที่ชุมชนบ้านวังน้ำ  4.เพื่อส่งเสริมความรู้การปฏิบัติตนที่ถูกต้องตามพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. 5.เพื่อให้หมู่บ้านเป็นตัวอย่าง หมู่บ้าน ลดเค็ม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการชุมชนลดเค็ม ลดโรคความดันโลหิตสูงบ้านวังน้ำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนลดเค็ม ลดโรคความดันโลหิตสูงบ้านวังน้ำ จังหวัด กำแพงเพชร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกาญจนา หยวกกลิ่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด