กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา


“ โครงการ อย.น้อย ใส่ใจสุขภาพ เขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ปี 2564 ”

ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรูลอาย มามะ

ชื่อโครงการ โครงการ อย.น้อย ใส่ใจสุขภาพ เขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L8280-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อย.น้อย ใส่ใจสุขภาพ เขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อย.น้อย ใส่ใจสุขภาพ เขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อย.น้อย ใส่ใจสุขภาพ เขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L8280-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 มกราคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 50 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สืบเนื่องจากรัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุขต้องการให้คนไทยได้บริโภคอาหาร,ใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอางที่ปลอดภัยจึงมีนโยบายให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขร่วมกับทุกส่วนราชการและภาคประชาชนได้มีการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอางร่วมกันโดยในส่วนสาธารณสุขมีหน้าที่สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหารออกตรวจผู้ผลิตและผู้จำหน่ายอาหารทั่วประเทศเผยแพร่ให้ความรู้แก่ประชาชนผู้บริโภคทั่วไปและมีการขยายฐานการให้ความรู้เข้าไปในโรงเรียน เพราะนักเรียน คือ ประชาชนที่เป็นอนาคตของชาติซึ่งเป็นผู้ที่กระตือรือร้นในหารทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์และเป็นที่ผู้ที่มีศักยภาพในตัวเองสามารถชี้นำเพื่อนและผู้ปกครองให้สนับสนุนการดำเนินงานที่ดีอย่างได้ผลทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการเลือกซื้ออาหารผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอางที่ปลอดภัยคณะกรรมการประสานงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโล๊ะจูดได้เล็งเห็นความสำคัญของเด็กที่อยู่ในวัยเรียนจึงได้จัดทำโครงการ อย.น้อยเพื่อนำศักยภาพของนักเรียนมาใช้ได้โดยเป้าหมายคือตัวแทนแกนนำนักเรียน อย.น้อย เพื่อให้นักเรียนแกนนำเป็นแบบอย่างที่ดีมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่ดีใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องและอ่านฉลากอาหาร ยา เครื่องสำอางก่อนใช้และสามารถเผยแพร่ข้อมูลความรู้ตลอดจนประชาสัมพันธ์โครงการได้อย่างทั่วถึงซึ่งจะส่งผลต่อการรับรู้ของกลุ่มเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ จากการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการ อย.น้อย ปี ๒๕๖๓ พบว่านักเรียน อย.น้อยยังขาดทักษะในการตรวจสารปนเปื้อนและการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการเน้นการมีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนายังมีน้อยทั้งนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโล๊ะจูดจึงดำเนินการจัดกิจกรรมในรูปแบบของการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อฝึกแกนนำ อย.น้อยให้มีความรู้ในการตรวจสารปนเปื้อนและสามารถนำชุดทดสอบอย่างง่ายไปใช้ในตรวจอาหารในร้านค้าบริเวณโรงเรียนและชุมชนของตนเองเพื่อสะท้อนผลการสุ่มตรวจไปยังคณะผู้บริหารของแต่ละโรงเรียนพิจารณาต่อไปซึ่งจะส่งผลให้โครงการ อย.น้อยมีความยั่งยืนมากขึ้นและนักเรียนในโรงเรียนมีความปลอดภัยในการบริโภคอาหารในโรงเรียนและชุมชนของตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มแกนนำ อย.น้อย สามารถตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้แกนนำนักเรียน อย.น้อย ได้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย รวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ให้เพื่อนนักเรียนและครอบครัว
  3. เพื่อกระตุ้นให้โรงเรียนทุกแห่งมีการดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อย.น้อย ใส่ใจสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้บริหารโรงเรียนและครูที่รับผิดชอบโครงการ อย.น้อย ทราบ รวมทั้งให้ความสำคัญและผลักดันให้มีการดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียน ให้ประสบความสำเร็จและยั่งยืน
  2. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และเฝ้าระวังความปลอดภัยในการบริโภคอาหาร การใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเครื่องสำอางที่มีจำหน่ายในโรงเรียน ชุมชน และสามารถนำามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับตนเองในชีวิตประจำวันได้
  3. โรงเรียนในเขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตามีแกนนำเป็นศูนย์การเผยแพร่ความรู้ ด้านงานคุ้มครองผู้บริโภคสู่ชมชน และดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มแกนนำ อย.น้อย สามารถตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของแกนนำนักเรียน อย.น้อยสามารถตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
50.00 45.00

 

2 เพื่อให้แกนนำนักเรียน อย.น้อย ได้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย รวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ให้เพื่อนนักเรียนและครอบครัว
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจหลังการอบรม เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย เพิ่มขึ้น ร้อยละ 90
50.00 45.00

 

3 เพื่อกระตุ้นให้โรงเรียนทุกแห่งมีการดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : โรงเรียนในเขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา มีชมรม อย.น้อย และดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
2.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มแกนนำ อย.น้อย สามารถตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้แกนนำนักเรียน อย.น้อย ได้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย รวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ให้เพื่อนนักเรียนและครอบครัว (3) เพื่อกระตุ้นให้โรงเรียนทุกแห่งมีการดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อย.น้อย ใส่ใจสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อย.น้อย ใส่ใจสุขภาพ เขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ปี 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L8280-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรูลอาย มามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด