กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า(covic 19) ”

รพ.สต.กะลูบี ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า(covic 19)

ที่อยู่ รพ.สต.กะลูบี ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2532-01-18 เลขที่ข้อตกลง 16/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า(covic 19) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.กะลูบี ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า(covic 19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า(covic 19) " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.กะลูบี ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2532-01-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล
เชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ ๒๐๑๙ (covid-19) เป็นไวรัสข้ามสายพันธุ์ที่เริ่มระบาดในมณฑลอู่ฮั่นของประเทศจีนในช่วงปลายปี ค.ศ.๒๐๑๙ จนกระทั่งมีการระบาดไปยังไปเทศต่างๆทั่วโลกสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค covid-19 มีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่ององค์การอนามัยโรคได้ประกาศว่าการระบาดของเชื้อดังกล่าวเป็นภัยพิบัติฉุกเฉินระดับโลกขณะเดียวกันประเทศไทยได้ประกาศให้โรคติดเชื้อ covid-19เป็นโรคอันตราย ภายใต้พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.๒๕๕๘ ลำดับที่ ๑๔เพื่อให้สามารถใช้ข้อกำหนดการตาม พ.ร.บ. ดังกล่าว ในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค สามารถควบคุมและป้องกันการเกิดโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมปัจจุบันการระบาดยังขยายเป็นวงกว้างไปหลายประเทศทั่วโลก ศูนย์ปฏิบัติการด้านการข่าว โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (covid-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข รายงานสถานการณ์ข้อมูลการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (covid-19) ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ ประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยัน จำนวน 24,961 ราย ผู้ป่วยใหม่ 175 ราย รักษาหาย 23,697 ราย เสียชีวิติ 82 ราย และในจังหวัดนราธิวาส พบผู้ป่วยยืนยัน 54 ราย รักษาหาย 52 ราย เสียชีวิต 2 ราย ในส่วนในอำเภอสุคิรินมีกลุ่มผู้ป่วยยืนยัน จำนวน 2 ราย การป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ (covid-19) สามารถทำได้โดยการหลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่ที่มีการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ (covid-19) การสัมผัสกับผู้ป่วยหรือผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อและควรปฏิบัติตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งคัด มีการบูรณาการทุกภาคส่วน ร่วมถึงการขับเคลื่อนยกระดับการรับรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน ให้มีความรู้ในการตระหนักถึงดูแลตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการกำหนดมาตรการต่างๆในการรับมือการแพร่ระบาดของเชื้อ covid-19เพราะการรับรู้และบทบาทการมีส่วนร่วมการตระหนักของประชาชนเป็นปัจจัยสำคัญที่จะทำให้ลดการระบาดของโรคและป้องกันการเกิดโรคในชุมชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลูบี จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ (covid-19) ขึ้น เพื่อสร้างเครือข่ายในการขับเคลื่อนในชุมขนสามารถสื่อสารข้อมูลกับประชาชนและส่งเสริมความรู้การป้องกันโรคที่ถูกต้อง สามารถปรับตัวให้เข้ากับวิถีการดำรงชีวิตแบบใหม่ให้ปลอดภัยจากการติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ (covid-19) ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตนที่ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์
  2. เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ส่งเสริม สนับสนุน บทบาทของภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (covid-19
  3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและสถานประกอบการต่างๆ มีการปฏิบัติตามแนวทาง มาตรการ ตามมาตรฐานที่กำหนด ปลอดภัยจากการโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (covid-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การดำเนินงาน
  2. ประชุม อสม.และภาคีเครือข่าย
  3. สำรวจและรณรงค์ตามมาตรการเฝ้าระวังฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 23
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 221
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,636
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
พื้นที่เป้าหมายเสี่ยงต่อการเกิดโรค 42

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ประชาชน ชุมชน และภาคีเครือข่าย มีความรู้ ในการปฏิบัติตนที่ถูกต้อง สามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ดำรงวิถีชีวิตแบบใหม่เพื่อให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (covic-19) ๒.ภาคประชาชนและเครือข่ายในชุมชน สามารถดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส โคโรน่า (covic-19) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตนที่ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์
ตัวชี้วัด : ประชาชน ชุมชน และภาคีเครือข่าย มีความรู้ ในการปฏิบัติตนที่ถูกต้อง สามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ดำรงวิถีชีวิตแบบใหม่เพื่อให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า
0.00 0.00

 

2 เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ส่งเสริม สนับสนุน บทบาทของภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (covid-19
ตัวชี้วัด : 2.ภาคประชาชนและเครือข่ายในชุมชน สามารถดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส โคโรน่า (covid-19) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
0.00 0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและสถานประกอบการต่างๆ มีการปฏิบัติตามแนวทาง มาตรการ ตามมาตรฐานที่กำหนด ปลอดภัยจากการโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (covid-19)
ตัวชี้วัด : ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคโรคติดเชื้อไวรัส โคโรน่า 2019(covid-19) เกิดขึ้นในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2922
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 23
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 221
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,636
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0
พื้นที่เป้าหมายเสี่ยงต่อการเกิดโรค 42

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตนที่ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ (2) เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ส่งเสริม สนับสนุน บทบาทของภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (covid-19 (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและสถานประกอบการต่างๆ มีการปฏิบัติตามแนวทาง มาตรการ ตามมาตรฐานที่กำหนด ปลอดภัยจากการโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (covid-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การดำเนินงาน (2) ประชุม อสม.และภาคีเครือข่าย (3) สำรวจและรณรงค์ตามมาตรการเฝ้าระวังฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า(covic 19) จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2532-01-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด