กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ริโก๋


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และหญิงวัยเจริญพันธ์ ”

จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และหญิงวัยเจริญพันธ์

ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และหญิงวัยเจริญพันธ์ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ริโก๋ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และหญิงวัยเจริญพันธ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และหญิงวัยเจริญพันธ์ " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ริโก๋ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถาบันครอบครัวเป็นสถาบันเริ่มแรกของการดูแลสุขภาพแบบบูรณาการ บุคคลจะมีสุขภาพแบบครบองค์ประกอบทั้งกาย จิตวิญญาณที่ดีได้เริ่มจากการดูแลเอาใจใส่ของบุคคลในครอบครัวและสังคม การดูแลควรเริ่มจากการวางแผนครอบครัว การมีบุตรเมื่อพร้อม การดูแลครรภ์ตั้งแต่ เริ่มตั้งครรภ์ (ก่อน 12 สัปดาห์ของอายุครรภ์)การดำเนินการตั้งครรภ์ที่ดี มีโภชนาการและพัฒนาการของทารกในครรภ์ที่ดี การดูแลสุขภาพช่องปากของหญิงตั้งครรภ์ การคลอดที่ปลอดภัยและการเลี้ยงลูกหลังคลอดด้วยนมแม่เป็นกระบวนการวางรากฐานพัฒนาการเด็ก โดยได้รับอาหารที่เหมาะสมเพียงพอ พร้อมสร้างความรักความอบอุ่น และพัฒนาสมองของลูกตั้งแต่แรกเกิด ลูกได้รับการเลี้ยงดูด้วยความรักความอบอุ่นตั้งแต่แรกเริ่มของการมีชีวิตด้วยการได้กินนมแม่และการโอบกอดเนื้อแนบเนื้อครั้งแรกในห้องคลอด สายใยรักที่ถ่ายทอดสู่ลูกจะเป็นแรงบันดาลใจให้แม่ไม่ทอดทิ้งลูก เลี้ยงลูกด้วยความรักความอบอุ่นทางใจ ซึ่งจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโต เป็นเยาวชนรุ่นใหม่ที่มีสุขภาพกายและจิตที่ดี ไม่ก่อปัญหาสังคมเมื่อเติบโตในอนาคต สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กในตำบลริโก๋ ปี 2563 มีหญิงมีครรภ์ 63 ราย พบอัตราการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ จำนวน 59 ราย คิดเป็นร้อยละ 93.65 ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ จำนวน 58 ราย คิดเป็นร้อยละ 92.06 การท้องซ้ำในแม่วัยใส ยังคงเกิดขึ้นในอำเภอสุไหงปาดี แต่ยังไม่พบในตำบลริโก๋ เพื่อเป็นการป้องกันการท้องซ้ำในแม่วัยใส จึงต้องมีการวางแผนการคุมกำเนิด อีกทั้งยังต้องเร่งดำเนินการ การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ในสตรีอายุ 30 – 70 ปี การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในหญิงหลังคลอดทุกราย และสตรีอายุ 30 – 60 ปี
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลริโก๋ ได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และหญิงวัยเจริญพันธ์ โดยร่วมกับคณะกรรมการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลริโก๋ เพื่อพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด และเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และหญิงวัยเจริญพันธ์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  2. เพื่อลดภาวะเสี่ยงการตั้งครรภ์ซ้ำ
  3. สตรีอายุ 30 – 60 ปี การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี pap smear มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80
  4. เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 70 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านม มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80
  5. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก โดยทันตบุคลากร ทุกราย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรม ให้ความรู้ เยี่ยมบ้าน ตรวจคัดกรอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60
  2. หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 75
  3. หญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี มีการตั้งครรภ์ซ้ำ ไม่เกิน ร้อยละ 14.5
  4. สตรีอายุ 30 – 70 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านม มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80
  5. สตรีอายุ 30 – 60 ปี การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี pap smear มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 (ผลงานสะสม ปี 2563-2567)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น)
0.00 60.00

 

2 เพื่อลดภาวะเสี่ยงการตั้งครรภ์ซ้ำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเยาวชน (อายุต่ำกว่า 20 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงการตั้งครรภ์ซ้ำ ลดลง
0.00 14.50

 

3 สตรีอายุ 30 – 60 ปี การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี pap smear มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (ผลงานสะสม ปี 2563-2567)
16.00

 

4 เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 70 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านม มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80
ตัวชี้วัด : ร้อยละของสตรีอายุ 30 – 70 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านม
80.00

 

5 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก โดยทันตบุคลากร ทุกราย
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก โดยทันตบุคลากร ทุกราย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (2) เพื่อลดภาวะเสี่ยงการตั้งครรภ์ซ้ำ (3) สตรีอายุ 30 – 60 ปี การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี pap smear มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 (4) เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 70 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านม มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 (5) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก โดยทันตบุคลากร ทุกราย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรม ให้ความรู้ เยี่ยมบ้าน ตรวจคัดกรอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และหญิงวัยเจริญพันธ์ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด