กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพื้นที่ปลอดภัยจากไข้เลือดออก โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบาโลย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ”
จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวไซนุง สาเมาะ




ชื่อโครงการ โครงการพื้นที่ปลอดภัยจากไข้เลือดออก โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบาโลย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ที่อยู่ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3044-2-12 เลขที่ข้อตกลง 6/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 เมษายน 2564 ถึง 31 มีนาคม 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพื้นที่ปลอดภัยจากไข้เลือดออก โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบาโลย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโลย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพื้นที่ปลอดภัยจากไข้เลือดออก โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบาโลย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพื้นที่ปลอดภัยจากไข้เลือดออก โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบาโลย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3044-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 เมษายน 2564 - 31 มีนาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,325.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโลย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ มีความรุนแรงสามารถทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้และมีผลต่อการสูญเสียทางเศรษฐกิจ ปัจจุบันพบว่ายังมีการแพร่ระบาดอยู่เป็นจำนวนมาก
ในขณะที่การป้องกันและการควบคุมโรคโดยการกำจัดและลดจำนวนยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคด้วยการทำลายลูกน้ำและแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายนั้นอาจไม่จำเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีสูงๆใดๆ เลย
แต่ก็ยังไม่สามารถควบคุมโรคนี้ให้อยู่ในระดับที่ปลอดภัยได้ การแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกนับว่าเป็นเป้าหมายหลักของทุกส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งมีหน้าที่ตามกฎหมายที่ต้องดูแลและป้องกันไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโลย ได้ให้ความสำคัญในเรื่องนี้เป็นอย่างมาก
มีการวางกำหนดเป้าหมายการควบคุมโรคโดยเน้นการดำเนินการในบ้าน ชุมชน โรงเรียน ตลอดจนสถานที่ราชการต่างๆเป็นเขตปลอดยุงลาย รวมทั้งการรณรงค์ให้ประชาชนร่วมกันกำจัดยุงลาย
และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเพื่อเป็นการปลูกฝังพฤติกรรมการป้องกันโรคเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีต่อไป การศึกษาการระบาดของโรคไข้เลือดออกในจังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ. 2563 พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสม 1,024 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 154.34ต่อแสนประชากร ส่วนปี พ.ศ. 2562มีจำนวนผู้ป่วยทั้งสิ้น 759 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 114.40 ต่อแสน
ประชากร ส่วนในปี พ.ศ. 25561มีจำนวนผู้ป่วยยืนยันสะสมทั้งสิ้น 216 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 32.36 ต่อแสนประชากร (สำนักงานระบาดวิทยา, 2563) ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้นทุกปี ส่วนสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในเขตอำเภอยะหริ่งจังหวัดปัตตานี พบว่า ปี 2563 มีจำนวนผู้ป่วยสะสม 110 ราย ส่วนปี พ.ศ.2562
จำนวนผู้ป่วยมีจำนวนเพิ่มขึ้นในแต่ละเดือนเช่นกัน และมีผู้ป่วยสะสมจำนวน 98 ราย จะเห็นได้ว่า การระบาดของโรคไข้เลือดออกนั้น จะมีแนวโน้มการระบาดที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเจน
(สำนักงานสาธารณสุขอำเภอยะหริ่ง, 2563) สำหรับสถิติผู้ป่วยไข้เลือดออกในตำบลบาโลย จะเห็นได้ว่าผู้ป่วยไข้เลือดออกใน 5 ปีย้อนหลัง พบว่า ปี 2559 มีจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 15 ราย
ซึ่งมีมากเป็นอุบัติการณ์และเป็นที่ 8 ของอำเภอด้วย ต่อมาใน 2560 ลดลงเหลือ 5 ราย และ 9 รายในปี 2561 ต่อมาในปี 2562 ไม่พบผู้ป่วย และในปี 2563 พบผู้ป่วย 2 ราย
จะเห็นได้ว่ามีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโลย จึงได้จัดทำโครงการพื้นที่ปลอดภัยจากไข้เลือดออก เพื่อจัดอบรม สัมมนาให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐานประจำหมู่บ้าน (อสม.) และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำความรู้ไปขยายผลต่อ เผยแพร่ให้กับประชาชนให้มีความรู้ความเข้าใจ
จะได้ช่วยกันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกไม่ให้มีการแพร่ระบาดในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ
  2. เพื่อให้ไม่่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกในตำบลบาโลย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ โดย อสม. 25 คน และประชาชนทั่วไป
  2. กิจกรรมอบรม/สัมมนาความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง และกำหนดข้อตกลง
  3. ประชุมกรรมการ สรุปผลการดำเนินโครงการ ถอดบทเรียน และติดตามข้อตกลง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 105
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม.ในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องไข้เลือดออกมากขึ้น สามารถช่วยป้องกันดูแลไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  2. ประชาชนได้ตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออกและให้ความร่วมมือในการดูแลตนเองและช่วยกันป้องกันไม่ให้มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก
  3. พื้นที่เป้าหมายไม่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรม/สัมมนาความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง และกำหนดข้อตกลง

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

3.1  ประชุมชี้แจงการดำเนินงานและแบ่งงานมอบหมายหน้าที่/ทำการอบรม สัมมนาให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น อสม.ทุกหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในหน่วยงาน และอื่นๆ 3.2  อสม. และเจ้าหน้าที่นำความรู้ความเข้าใจในเรื่องไข้เลือดออกรณรงค์เผยแพร่ให้กับประชาชนในพื้นที่เพื่อ       3.2.1 ช่วยกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในบริเวณบ้านเรือนตลอดจนสถานที่ราชการต่างๆให้มีความเหมาะสมไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย       3.2.2 รู้จักวิธีดูแลตนเองไม่ให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคไข้เลือดออก

3.3  อสม. ครู นักเรียน เจ้าหน้าที่และชาวบ้านทุกหมู่ ร่วมกันรณรงค์ ออกสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยพร้อมเพรียงกัน 3.4 ควบคุมและป้องกันการระบาด โดยพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายตัวเต็มวัย แจกสเปรย์ฉีดยุง
3.5 สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินกิจกรรมโครงการพื้นที่ปลอดภัยจากไข้เลือดออก ในชุมชน ทั้ง ๔ หมู่บ้านได้ผลดังนี้ -ร้อยละ 98.80 อสม. และเจ้าที่ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
-ประชาชนช่วยกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในบริเวณบ้านของตัวเอง และประชาชนมีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและสถานที่สำคัญๆในชุมชน -HI เท่ากับ 4.10 ค่า CI เท่ากับ 0 -อัตราป่วยของโรคไข้เลือดออก ๖2.30 ต่อแสนประชากร (รง. 506 ปี 2564)

 

0 0

2. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ โดย อสม. 25 คน และประชาชนทั่วไป

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

3.1  ประชุมชี้แจงการดำเนินงานและแบ่งงานมอบหมายหน้าที่/ทำการอบรม สัมมนาให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น อสม.ทุกหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในหน่วยงาน และอื่นๆ 3.2  อสม. และเจ้าหน้าที่นำความรู้ความเข้าใจในเรื่องไข้เลือดออกรณรงค์เผยแพร่ให้กับประชาชนในพื้นที่เพื่อ       3.2.1 ช่วยกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในบริเวณบ้านเรือนตลอดจนสถานที่ราชการต่างๆให้มีความเหมาะสมไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย       3.2.2 รู้จักวิธีดูแลตนเองไม่ให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคไข้เลือดออก

3.3  อสม. ครู นักเรียน เจ้าหน้าที่และชาวบ้านทุกหมู่ ร่วมกันรณรงค์ ออกสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยพร้อมเพรียงกัน 3.4 ควบคุมและป้องกันการระบาด โดยพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายตัวเต็มวัย แจกสเปรย์ฉีดยุง
3.5 สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินกิจกรรมโครงการพื้นที่ปลอดภัยจากไข้เลือดออก ในชุมชน ทั้ง ๔ หมู่บ้านได้ผลดังนี้ -ร้อยละ 98.80 อสม. และเจ้าที่ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
-ประชาชนช่วยกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในบริเวณบ้านของตัวเอง และประชาชนมีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและสถานที่สำคัญๆในชุมชน -HI เท่ากับ 4.10 ค่า CI เท่ากับ 0 -อัตราป่วยของโรคไข้เลือดออก ๖2.30 ต่อแสนประชากร (รง. 506 ปี 2564)

 

0 0

3. ประชุมกรรมการ สรุปผลการดำเนินโครงการ ถอดบทเรียน และติดตามข้อตกลง

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

3.1  ประชุมชี้แจงการดำเนินงานและแบ่งงานมอบหมายหน้าที่/ทำการอบรม สัมมนาให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น อสม.ทุกหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในหน่วยงาน และอื่นๆ 3.2  อสม. และเจ้าหน้าที่นำความรู้ความเข้าใจในเรื่องไข้เลือดออกรณรงค์เผยแพร่ให้กับประชาชนในพื้นที่เพื่อ       3.2.1 ช่วยกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในบริเวณบ้านเรือนตลอดจนสถานที่ราชการต่างๆให้มีความเหมาะสมไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย       3.2.2 รู้จักวิธีดูแลตนเองไม่ให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคไข้เลือดออก

3.3  อสม. ครู นักเรียน เจ้าหน้าที่และชาวบ้านทุกหมู่ ร่วมกันรณรงค์ ออกสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยพร้อมเพรียงกัน 3.4 ควบคุมและป้องกันการระบาด โดยพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายตัวเต็มวัย แจกสเปรย์ฉีดยุง
3.5 สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินกิจกรรมโครงการพื้นที่ปลอดภัยจากไข้เลือดออก ในชุมชน ทั้ง ๔ หมู่บ้านได้ผลดังนี้ -ร้อยละ 98.80 อสม. และเจ้าที่ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
-ประชาชนช่วยกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในบริเวณบ้านของตัวเอง และประชาชนมีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและสถานที่สำคัญๆในชุมชน -HI เท่ากับ 4.10 ค่า CI เท่ากับ 0 -อัตราป่วยของโรคไข้เลือดออก ๖2.30 ต่อแสนประชากร (รง. 506 ปี 2564)

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายหรือมาตรการด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
0.00 2.00

 

2 เพื่อให้ไม่่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกในตำบลบาโลย
ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยไข้เลือดออกในตำบลบาโลยลดลง
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 105
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 105
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ (2) เพื่อให้ไม่่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกในตำบลบาโลย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ โดย อสม. 25 คน และประชาชนทั่วไป (2) กิจกรรมอบรม/สัมมนาความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง และกำหนดข้อตกลง (3) ประชุมกรรมการ สรุปผลการดำเนินโครงการ ถอดบทเรียน และติดตามข้อตกลง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพื้นที่ปลอดภัยจากไข้เลือดออก โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบาโลย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3044-2-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวไซนุง สาเมาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด