กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า


“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคตำบลเกาะสะบ้า ประจำปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอรสา ชูศรี

ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคตำบลเกาะสะบ้า ประจำปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5188-1-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคุ้มครองผู้บริโภคตำบลเกาะสะบ้า ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคตำบลเกาะสะบ้า ประจำปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภคตำบลเกาะสะบ้า ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5188-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,784.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ รัฐบาลมีนโยบายเกี่ยวกับความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety) โดยมีเป้าหมายให้อาหารที่ผลิตและบริโภคในประเทศไทยนั้น มีความปลอดภัยในระดับสากลและให้เป็นครัวของโลก จึงมอบหมายให้กระทรวงสาธารณสุขเป็นหน่วยงานหลักในการผสานยุทธศาสตร์ด้านความปลอดภัยด้านอาหารของประเทศและมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมรับผิดชอบ โดยบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ประกอบกับสถานการณ์ปัจจุบันนี้มีความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจโดยทั่วไปของประเทศ ได้มีการพัฒนาจากสังคมเกษตรเป็นสังคมอุตสาหกรรมดังนั้นจึงเป็นส่วนที่สำคัญอย่างมากที่จะให้ผู้บริโภคได้เลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและผู้จำหน่ายจะได้จำหน่ายอาหารที่มีคุณภาพ เนื่องจากปัญหาการใช้ยาไม่สมเหตุสมผลของคนในชุมชน เป็นปัญหาที่ซับซ้อน มีปัจจัยที่เข้ามาเกี่ยวข้อง หลายส่วนทั้งจากตัวผู้ใช้ยาเอง ผู้สั่งใช้ยา ผู้ผลิตยา กระจายยา และ การควบคุมกำกับตามกฎหมาย ดังนั้นการดำเนินการ จึงต้องใช้มาตรการที่หลากหลาย จากความร่วมมือของหลายภาค กล่าวคือผสมผสานมาตรการ ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านการให้การศึกษาและพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการระบบ ด้านแรงจูงใจ การกำกับดูแลให้เป็นไปตามกฎหมาย โดย ๔ มาตรการสำคัญ ต้องดำเนินการในหลากหลากหน่วยงานและภาคชั้น อย่างมีเอกภาพและเสริมพลัง จากการลงเยี่ยมบ้านในชุมชนตำบลเกาะสะบ้ามีกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อมและไตวายเป็นจำนวนหลายรายจากการซักประวัติพบว่ากลุ่มผู้ป่วยมีประวัติการใช้ยาเป็นระยะเวลานานจากการเจ็บป่วยเรื้อรังและจากการไม่รู้ในการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลรับประทานยาแก้ปวดซึ่งจัดเป็นชุดรับประทานต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานมากกว่า10ปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะสะบ้าเป็นหน่วยงานหลักทางด้านสุขภาพแก่ประชาชนในชุมชนในตำบลเกาะสะบ้าอำเภอเทพา จังหวัดสงขลาโดยประชาชนมีความคาดหวังในการดูแลสุขภาพให้ดีขึ้นดังนั้นจากเหตุผลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะสะบ้าจึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภคปี 25๖๐

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้คนในชุมชนมีการใช้ยาที่ถูกต้องและเหมาะสมไม่ได้รับอันตรายจากการใช้ยา
  2. เพื่อให้อาหารที่จำหน่ายปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
  3. เพื่อสร้างเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน และ อย.น้อย ในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย สำรวจร้านค้า เฝ้าระวังร้านขายของชำ และรถเร่ที่ขายยาอันตราย
  2. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายร้านอาหาร พร้อมมอบเกียรติบัติ ผ้ากันเปื้อน ดำเนินการตรวจประเมินด้านอาหารปลอดภัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คนในชุมชนมีการใช้ยาที่ถูกต้องและเหมาะสมไม่ได้รับอันตรายจากการใช้ยา
  2. อาหารที่จำหน่ายปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
    1. มีเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน และ อย.น้อย ในโรงเรียน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย สำรวจร้านค้า เฝ้าระวังร้านขายของชำ และรถเร่ที่ขายยาอันตราย

วันที่ 14 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชนกับร้านขายของชำ อย.น้อยในโรงเรียน ครูและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อให้มีความรู้และทักษะที่ถูกต้องในการเลือกซื้อยาที่ปลอดภัย ไม่เป็นอันตรายและถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลจาการอบรมพบว่าร้านขายของชำในตำบลเกาะสะบ้า อย.น้อยในโรงเรียน คณุ และ อสม. มีความรู้เพิ่มขึ้นประเมินได้จากแบบทดสอบก่อน หลังการอบรมร้านขายของชำในตำบลเกาะสะบ้า สามารถฝึกทักษะได้ดี จนสามารถอ่านฉลากยา อาหารเสริม และเครื่องสำอางได้ พร้อมทั้งแยกแยกแยะ ยา อาหารเสริม และเครื่องที่สามารถขาย และห้ามขายได้

 

110 0

2. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายร้านอาหาร พร้อมมอบเกียรติบัติ ผ้ากันเปื้อน ดำเนินการตรวจประเมินด้านอาหารปลอดภัย

วันที่ 18 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมอาหารปลอดภัยให้กับร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหารในค่ายทหาร อย.น้อยในโรงเรียน ครู อสม. เพื่อให้มีความรู้และทักษะที่ถูกต้องในการเลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัย การจัดสุขาภิบาลอาหารที่ถูกต้องตามเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารที่ร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหารต้องปฏิบัติตามให้ผ่านเกณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากผลการอบรมพบว่าร้านขายอาหาร แผงลอย โรงอาหารในค่ายทหาร โรงเรียน และศพด. อย.น้อยในโรงเรียน ครู และ อสม. มีความรู็เพิ่มขึ้น

 

79 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้คนในชุมชนมีการใช้ยาที่ถูกต้องและเหมาะสมไม่ได้รับอันตรายจากการใช้ยา
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้อาหารที่จำหน่ายปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อสร้างเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน และ อย.น้อย ในโรงเรียน
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คนในชุมชนมีการใช้ยาที่ถูกต้องและเหมาะสมไม่ได้รับอันตรายจากการใช้ยา (2) เพื่อให้อาหารที่จำหน่ายปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (3) เพื่อสร้างเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน และ อย.น้อย ในโรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย สำรวจร้านค้า เฝ้าระวังร้านขายของชำ และรถเร่ที่ขายยาอันตราย (2) อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายร้านอาหาร พร้อมมอบเกียรติบัติ ผ้ากันเปื้อน ดำเนินการตรวจประเมินด้านอาหารปลอดภัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคุ้มครองผู้บริโภคตำบลเกาะสะบ้า ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5188-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรสา ชูศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด