สร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้พิการตำบลช้างเผือก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ สร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้พิการตำบลช้างเผือก ”
ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอับดลเลาะ ดอเล๊าะอุมา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ สร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้พิการตำบลช้างเผือก
ที่อยู่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2475-3-01 เลขที่ข้อตกลง 13/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"สร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้พิการตำบลช้างเผือก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
สร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้พิการตำบลช้างเผือก
บทคัดย่อ
โครงการ " สร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้พิการตำบลช้างเผือก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2475-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากข้อมูลในระบบกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น พบว่า ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส มีผู้พิการทุกประเภทรวมกันทั้งหมด ในปี 2564 จำนวน 198 คน (กุมภาพันธ์ 2564, กรมส่งเสริมปกครองส่วนท้องถิ่น) ในจำนวนนี้ จัดเป็นผู้พิการทางการเคลื่อนไหว มากที่สุดรองลงมาคือทางการได้ยินหรือการสื่อความหมายและการมองเห็น นอกจากนี้ ยังมีผู้พิการอีกหลายประเภทที่อยู่ในชุมชนที่บางส่วนยังเข้าไม่ถึงระบบการดูแลที่เหมาะสม ทั้งผู้พิการทางสติปัญหา การเรียนรู้ ออทิสทิก หรือทางด้านจิตเวช ผู้พิการบางประเภทสามารถออกจากบ้านได้ ในการไปประกอบอาชีพและการดำรงชีวิต ในขณะที่อีกหลายประเภท หลายคนที่ไม่สามารถออกจากบ้านได้ ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ และยังคง เป็นภาระให้กับผู้ดูแลหรือสมาชิกในครัวเรือนด้วย อย่างไรก็ตามพบว่าในการดำเนินงานที่ผ่านมาของหลายหน่วยงานนั้นในการให้บริการที่เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะความพิการของคนพิการแต่ละประเภทนั้นยังมีข้อจำกัดอยู่เนื่องจากการไม่ได้ลงไปเยี่ยมคนพิการที่ติดบ้านอย่างจริงจังและชัดเจน คนที่ไปเยี่ยมบ้านมีความรู้เกี่ยวกับการดูแล
คนพิการแต่ละประเภทไม่มากพอ ทำให้การลงไปเยี่ยมติดตามไม่สามารถให้คำแนะนำที่เหมาะสมได้ คนพิการบางประเภทต้องมีญาติคอยดูแลตลอด แต่ญาติขาดความรู้ ความเข้าใจในการดูแลที่เหมาะสม หรือรวมทั้งบุคลากรที่จะทำหน้าที่ในการลงไปเยี่ยมบ้านนั้นมีจำนวนจำกัด ไม่สามารถลงไปเยี่ยมได้อย่างทั่วถึง ดังนั้น การส่งเสริมให้มีการลงไปเยี่ยมบ้านของบุคลากรที่มีความรู้ หรืออาสาสมัครในชุมชน ที่ผ่านการอบรมให้ความรู้ที่เหมาะสมแล้ว ให้สามารถลงไปเยี่ยมติดตาม ดูแล และให้กำลังใจคนพิการในชุมชนได้อย่างทั่วถึง และมีความเหมาะสมกับลักษณะความพิการแต่ละประเภท น่าจะเป็นแนวทางหนึ่งใน การช่วยสร้างคุณภาพชีวิตของคนพิการในชุมชนให้ดีขึ้น รวมถึงได้รับการดูแลที่เหมาะสมมากขึ้น
จึงได้จัดทำโครงการ สร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการตำบลช้างเผือก เพื่อให้มีการฟื้นฟูสมรรถภาพและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนผู้พิการโดยญาติ/ผู้ดูแล เพื่อส่งต่อผู้พิการให้ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการที่เหมาะสม เพื่อให้มีการติดตามผลการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลสุขภาพผู้พิการอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต
- เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้การทำกายภาพบำบัดและการดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยให้กับญาติ/ผู้ดูแล ผู้พิการ
- การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ โดยการจัดหากายอุปกรณ์และวัสดุอื่น ๆ ที่เหมาะสม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ดูแลคนพิการ
30
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้ค้นหา ตรวจคัดกรองและขึ้นทะเบียนคนพิการ และรับเอกสารรับรองคนพิการ
ได้มีการฟื้นฟูสมรรถภาพและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนคนพิการโดยญาติ/ผู้ดูแล
ได้มีการส่งต่อคนพิการให้ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการที่เหมาะสม
ได้มีการติดตามผลการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลสุขภาพคนพิการอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนพิการที่ได้รับกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต
20.00
30.00
2
เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ดูแลหรือญาติสามารถให้การดูแลผู้พิการได้
50.00
60.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ผู้ดูแลคนพิการ
30
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต (2) เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การทำกายภาพบำบัดและการดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยให้กับญาติ/ผู้ดูแล ผู้พิการ (2) การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ โดยการจัดหากายอุปกรณ์และวัสดุอื่น ๆ ที่เหมาะสม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
สร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้พิการตำบลช้างเผือก จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2475-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอับดลเลาะ ดอเล๊าะอุมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ สร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้พิการตำบลช้างเผือก ”
ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอับดลเลาะ ดอเล๊าะอุมา
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2475-3-01 เลขที่ข้อตกลง 13/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"สร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้พิการตำบลช้างเผือก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
สร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้พิการตำบลช้างเผือก
บทคัดย่อ
โครงการ " สร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้พิการตำบลช้างเผือก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2475-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากข้อมูลในระบบกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น พบว่า ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส มีผู้พิการทุกประเภทรวมกันทั้งหมด ในปี 2564 จำนวน 198 คน (กุมภาพันธ์ 2564, กรมส่งเสริมปกครองส่วนท้องถิ่น) ในจำนวนนี้ จัดเป็นผู้พิการทางการเคลื่อนไหว มากที่สุดรองลงมาคือทางการได้ยินหรือการสื่อความหมายและการมองเห็น นอกจากนี้ ยังมีผู้พิการอีกหลายประเภทที่อยู่ในชุมชนที่บางส่วนยังเข้าไม่ถึงระบบการดูแลที่เหมาะสม ทั้งผู้พิการทางสติปัญหา การเรียนรู้ ออทิสทิก หรือทางด้านจิตเวช ผู้พิการบางประเภทสามารถออกจากบ้านได้ ในการไปประกอบอาชีพและการดำรงชีวิต ในขณะที่อีกหลายประเภท หลายคนที่ไม่สามารถออกจากบ้านได้ ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ และยังคง เป็นภาระให้กับผู้ดูแลหรือสมาชิกในครัวเรือนด้วย อย่างไรก็ตามพบว่าในการดำเนินงานที่ผ่านมาของหลายหน่วยงานนั้นในการให้บริการที่เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะความพิการของคนพิการแต่ละประเภทนั้นยังมีข้อจำกัดอยู่เนื่องจากการไม่ได้ลงไปเยี่ยมคนพิการที่ติดบ้านอย่างจริงจังและชัดเจน คนที่ไปเยี่ยมบ้านมีความรู้เกี่ยวกับการดูแล คนพิการแต่ละประเภทไม่มากพอ ทำให้การลงไปเยี่ยมติดตามไม่สามารถให้คำแนะนำที่เหมาะสมได้ คนพิการบางประเภทต้องมีญาติคอยดูแลตลอด แต่ญาติขาดความรู้ ความเข้าใจในการดูแลที่เหมาะสม หรือรวมทั้งบุคลากรที่จะทำหน้าที่ในการลงไปเยี่ยมบ้านนั้นมีจำนวนจำกัด ไม่สามารถลงไปเยี่ยมได้อย่างทั่วถึง ดังนั้น การส่งเสริมให้มีการลงไปเยี่ยมบ้านของบุคลากรที่มีความรู้ หรืออาสาสมัครในชุมชน ที่ผ่านการอบรมให้ความรู้ที่เหมาะสมแล้ว ให้สามารถลงไปเยี่ยมติดตาม ดูแล และให้กำลังใจคนพิการในชุมชนได้อย่างทั่วถึง และมีความเหมาะสมกับลักษณะความพิการแต่ละประเภท น่าจะเป็นแนวทางหนึ่งใน การช่วยสร้างคุณภาพชีวิตของคนพิการในชุมชนให้ดีขึ้น รวมถึงได้รับการดูแลที่เหมาะสมมากขึ้น จึงได้จัดทำโครงการ สร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการตำบลช้างเผือก เพื่อให้มีการฟื้นฟูสมรรถภาพและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนผู้พิการโดยญาติ/ผู้ดูแล เพื่อส่งต่อผู้พิการให้ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการที่เหมาะสม เพื่อให้มีการติดตามผลการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลสุขภาพผู้พิการอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต
- เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้การทำกายภาพบำบัดและการดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยให้กับญาติ/ผู้ดูแล ผู้พิการ
- การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ โดยการจัดหากายอุปกรณ์และวัสดุอื่น ๆ ที่เหมาะสม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ผู้ดูแลคนพิการ | 30 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้ค้นหา ตรวจคัดกรองและขึ้นทะเบียนคนพิการ และรับเอกสารรับรองคนพิการ ได้มีการฟื้นฟูสมรรถภาพและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนคนพิการโดยญาติ/ผู้ดูแล ได้มีการส่งต่อคนพิการให้ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการที่เหมาะสม ได้มีการติดตามผลการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลสุขภาพคนพิการอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนพิการที่ได้รับกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต |
20.00 | 30.00 |
|
|
2 | เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ดูแลหรือญาติสามารถให้การดูแลผู้พิการได้ |
50.00 | 60.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 0 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ผู้ดูแลคนพิการ | 30 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต (2) เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การทำกายภาพบำบัดและการดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยให้กับญาติ/ผู้ดูแล ผู้พิการ (2) การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ โดยการจัดหากายอุปกรณ์และวัสดุอื่น ๆ ที่เหมาะสม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
สร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้พิการตำบลช้างเผือก จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2475-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอับดลเลาะ ดอเล๊าะอุมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......