กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย


“ โครงการฟันแข็งแรงทุกกลุ่มวัย ”

ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางมาริยา หาดดี

ชื่อโครงการ โครงการฟันแข็งแรงทุกกลุ่มวัย

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 52816001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฟันแข็งแรงทุกกลุ่มวัย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันแข็งแรงทุกกลุ่มวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฟันแข็งแรงทุกกลุ่มวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 52816001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปี ๒๕๕๔ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีนโยบายการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคในช่องปากโดยการบริหารจัดการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพช่องปากระดับจังหวัดให้มีความเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ สร้างการมีส่วนร่วมในการคิด วิเคราะห์ จัดทำแผนการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมายหลักหลายกลุ่ม เช่น กลุ่มผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนกลุ่มเด็กวัยก่อนเรียน โดยผ่านการพิจารณา ควบคุม กำกับ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากของคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากระดับอำเภอ และจังหวัด ปัญหาโรคในช่องปากยังคงเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญโดยเฉพาะโรคฟันผุและโรคปริทันต์ ซึ่งยังคุกคามสุขภาพช่องปากของประชาชนทั้งประเทศทำให้เกิดความเจ็บปวด ทรมาน แม้ไม่เป็นอันตรายถึงชีวิต แต่ก็ยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพโดยรวมของประชาชน แม้ว่าการป้องกัน ควบคุมโรคในช่องปากยังคงดำเนินการต่อเนื่องแต่ก็ไม่สามารถลดโรคลงได้
ซึ่งถ้าได้ดูแลตั้งแต่เนิ่น ๆ โดยเริ่มจากหญิงตั้งครรภ์ผู้ปกครอง และผู้สูงอายุ ซึ่งจะเป็นการเฝ้าระวังตั้งแต่เนิ่น โดยในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์จะทำการดูแลตั้งแต่ตอนตั้งครรภ์โดยดูแลสุขภาพช่องปากตัวเองให้ปราศจากฟันผุ ทำการย้อมสีฟัน และดูและฟันและเหงือกของลูกตั้งแต่คลอดจนกระทั่งเข้าเรียน ในกลุ่มผู้ปกครองจะต้องดูและสุขภาพช่องปากของลูกช่วยลูกแปรงฟัน ส่วนในกลุ่มผู้สูงอายุ จะเริ่มมีฟันผสมคือฟันปลอมกับฟันแท้หรือไม่ก็จะเป็นฟันปลอมทั้งปาก และฟันคู่สบจะเหลือน้อย ซึ่งจะต้องดูแลให้ผู้สูงอายุมีฟันคู่สบไว้เคี้ยวอาหารเพื่อการมีสุขภาพจิตที่ดีในการดำเนินชีวิต
จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ ๖ พ.ศ. ๒๕๔๙ -๒๕๕๐ พบว่าเด็กอายุ ๓ ปี ซึ่งเพิ่งมีฟันน้ำนมขึ้นครบมีฟันผุแล้วร้อยละ ๖๑.๓๗ โดยเฉลี่ยฟันผุ อุด ถอนเป็น ๓.๒๑ ซี่ต่อคนและเมื่ออายุ ๕ ปี มีฟันผุเพิ่มเป็นร้อยละ ๘๐.๖๔ โดยเฉลี่ยฟันผุอุดถอนเป็น ๕.๔๓ ซี่ต่อคน ฟันน้ำนมที่ผุเกือบทั้งหมดยังอยู่ในสภาพผุที่ไม่ได้รับการรักษา จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพของจังหวัดสตูล ปี ๒๕๕๓ พบว่าพบว่าเด็กอายุ ๓ ปี มีฟันผุร้อยละ ๓๔.๙๕ อัตราการสูญเสียฟันน้ำนมมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น
การติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์การเกิดโรคในช่องปากและประเมินผลการดำเนินงานของเครือข่ายควนกาหลง ๒๕๕๗ พบว่ากลุ่มเด็ก ๑๘ เดือน ปราศจากฟันผุ ร้อยละ ๘๓.๐๒ ส่วนเด็กอายุ ๓ ปี ปราศจากฟันผุ ร้อยละ๒๖.๘๓ ซึ่งลดลงจากเด็กอายุ ๑๘ เดือนค่อนข้างมาก จากการเฝ้าระวังสถานการณ์การเกิดโรคในช่องปากของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย ปี ๒๕๕๙ พบว่าอัตราการปราศจากฟันผุในเด็กอายุ ๓ ปี ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก คิดเป็นร้อยละ๒๕ อัตราการผุ ถอน อุด ๓.๙๕ ซี่ต่อคน
ในช่วงหญิงตั้งครรภ์จะเกิดภาวะเสี่ยงต่อฟันผุมาก ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่างกายทำให้การดูแลความสะอาดฟันค่อนข้างต่ำและเสี่ยงมาก ซึ่งจะต้องได้รับการตรวจคัดกรองและรับบริการส่งเสริม ป้องกัน และรักษาให้ทันเวลา ซึ่งถ้าหญิงตั้งครรภ์มีภาวะฟันผุมากจะส่งผลต่อการเกิดฟันผุของลูกที่จะเกิดมา ในช่วงเด็กวัยแรกเกิดและกลุ่มวัยก่อนเรียนที่ยังอยู่ในการดูแลของผู้ปกครองสามารถให้ผู้ปกครองดูแลได้โดยการใช้ถุงนิ้วในการเช็ดปากให้ลูกตั้งแต่แรกเกิด และเมื่อมีฟันโผล่พ้นช่องปากเมื่ออายุ ๖-๙ เดือน ก็จะต้องได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช และการแปรงฟันโดยผู้ปกครอง ส่วนในช่วงกลุ่มเด็กอายุ ๓เป็นช่วงที่มีฟันน้ำนมครบ ๒๐ ซี่ ซึ่งเด็กช่วงวัยก่อนเรียนกลุ่มนี้ ส่วนใหญ่จะอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเป็นการง่ายที่จะส่งเสริมให้ผู้ปกครองแปรงฟันให้เด็กซึ่งการแปรงฟันเป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะช่วยป้องกันโรคฟันผุ และการทาฟลูออไรด์วานิชเป็นการป้องกันที่ได้ผลดีและจะส่งผลดีต่อการที่ฟันแท้ซี่แรกที่จะขึ้นต่อไป ในช่วงวัยผู้สูงอายุ เป็นวัยที่การมีฟันเคี้ยวอาหารน้อยกว่า ๒๐ ซี่ และฟันคู่สบน้อย จะต้องมีการส่งเสริมและป้องกันฟันที่เหลืออยู่ในช่องปากให้ใช้งานได้ จากเหตุผลดังกล่าวทาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ยจึงได้จัดทำโครงการฟันแข็งแรงทุกกลุ่มวัย ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจฟันและการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจฟันและการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 163
    กลุ่มผู้สูงอายุ 25
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 49
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองตรวจฟัน ร้อยละ ๘๕ ๒. ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ร้อยละ ๖๐ ๓. ผู้สูงอายุในชมรมฯ ได้รับการคัดกรองตรวจฟัน ร้อยละ ๙๐


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน ๕๐ คน

    วันที่ 4 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการดำเนินงาน มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 250 คน ตามจำนวนกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และกลุ่มผู้สูงอายุ โดยคิดเป็นร้อยละ 100  ซึ่งหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองตรวจฟัน ร้อยละ 85 ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 60  และผู้สูงอายุในชมรมฯ ได้รับการคัดกรองตรวจฟัน ร้อยละ 90

     

    25 50

    2. หญิงตั้งครรภ์ จำนวน ๔๙ คน

    วันที่ 6 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ส่วนที่ 3 แบบรายงานผลการดำเนินแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ (สำหรับผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ลงรายละเอียดเมื่อเสร็จสิ้นการดำเนินงาน) ชื่อแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม โครงการฟันแข็งแรงทุกกลุ่มวัย 1. ผลการดำเนินงาน มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 250 คน ตามจำนวนกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และกลุ่มผู้สูงอายุ โดยคิดเป็นร้อยละ 100ซึ่งหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองตรวจฟัน ร้อยละ 85 ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 60และผู้สูงอายุในชมรมฯ ได้รับการคัดกรองตรวจฟัน ร้อยละ 90 2.ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ / บรรลุตามวัตถุประสงค์ ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ............................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในแผนงาน/โครงการ/ กิจกรรม250 คน 3.การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ31,700บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง31,700บาท คิดเป็นร้อยละ100 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ 0 บาท คิดเป็นร้อยละ0 4.ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ไม่มี / มี ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) สภาพภูมิอากาศ ในช่วงการดำเนินงานในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นช่วงที่ฤดูฝน มีฝนตกหนัก ทำให้ผู้ปกครองไม่สามารถมาร่วมโครงการได้ ซึ่งทำให้ต้องเลื่อนวันในการดำเนินโครงการออกไป แนวทางการแก้ไข (ระบุ) จะต้องดำเนินการโครงการในช่วงฤดูที่ไม่มีฝนตก
    ลงชื่อ.................................................................................ผู้รายงาน (นางมาริยาหาดดี ) ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการ วันที่ – เดือน –พ.ศ. .............................................................................

     

    49 49

    3. ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน ๑๖๓ คน

    วันที่ 14 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการดำเนินงาน มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 250 คน ตามจำนวนกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และกลุ่มผู้สูงอายุ โดยคิดเป็นร้อยละ 100  ซึ่งหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองตรวจฟัน ร้อยละ 85 ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 60  และผู้สูงอายุในชมรมฯ ได้รับการคัดกรองตรวจฟัน ร้อยละ 90

     

    163 163

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ส่วนที่ 3 แบบรายงานผลการดำเนินแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ (สำหรับผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ลงรายละเอียดเมื่อเสร็จสิ้นการดำเนินงาน) ชื่อแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม  โครงการฟันแข็งแรงทุกกลุ่มวัย 1. ผลการดำเนินงาน มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 250 คน ตามจำนวนกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และกลุ่มผู้สูงอายุ โดยคิดเป็นร้อยละ 100  ซึ่งหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองตรวจฟัน ร้อยละ 85 ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 60  และผู้สูงอายุในชมรมฯ ได้รับการคัดกรองตรวจฟัน ร้อยละ 90 2.  ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด   2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์       /  บรรลุตามวัตถุประสงค์       ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ............................................................................................................ ..............................................................................................................................................................................     2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในแผนงาน/โครงการ/ กิจกรรม  250 คน 3.การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ    31,700  บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง      31,700  บาท คิดเป็นร้อยละ    100 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ       0  บาท คิดเป็นร้อยละ    0 4.ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน       ไม่มี       / มี ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) สภาพภูมิอากาศ ในช่วงการดำเนินงานในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นช่วงที่ฤดูฝน มีฝนตกหนัก ทำให้ผู้ปกครองไม่สามารถมาร่วมโครงการได้ ซึ่งทำให้ต้องเลื่อนวันในการดำเนินโครงการออกไป แนวทางการแก้ไข (ระบุ) จะต้องดำเนินการโครงการในช่วงฤดูที่ไม่มีฝนตก

                                                      ลงชื่อ.................................................................................ผู้รายงาน                                                                       (นางมาริยา  หาดดี )                                                           ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการ                                                 วันที่ – เดือน –พ.ศ. .............................................................................

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจฟันและการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจฟันและการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 237
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 163
    กลุ่มผู้สูงอายุ 25
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 49
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจฟันและการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อให้ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจฟันและการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการฟันแข็งแรงทุกกลุ่มวัย จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 52816001

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางมาริยา หาดดี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด