กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย


“ โครงการเตรียมพร้อมรับมือ ลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์ ”

ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวไลล่า บินตะสอน

ชื่อโครงการ โครงการเตรียมพร้อมรับมือ ลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 52816001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเตรียมพร้อมรับมือ ลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเตรียมพร้อมรับมือ ลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเตรียมพร้อมรับมือ ลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 52816001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หนึ่งลดลงหรือถูกทำลายไปอย่างน่าเสียดาย เช่น เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในชนบทและครอบครัวที่มีฐานะยากจนพบเป็นเด็กที่มีภาวะโภชนาการไม่ถูกต้อง ขาดสารอาหารที่จำเป็นต่อพัฒนาการของร่างกายและสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัยอยู่ถึงร้อยละ 3 ทำให้เด็กมีร่างกายและสมองพัฒนาได้ช้ากว่าวัยนอกจากนี้ยังพบอีกว่า สุขภาพของเด็กเป็นผลกระทบโดยตรงจากสุขภาพของมารดาขณะตั้งครรภ์และโรคทางพันธุกรรมหลายโรค มีรายงานว่าผู้ป่วยโรคธาลัธซีเมียมีแนวโน้มสูงขึ้นมีเด็กและผู้ป่วยด้วยโรคนี้ถึงร้อยละ 33.63 โรคฮีโมพีเลีย โรคปากแหว่งเพดานโหว่ ก็ยังมีเด็กเป็นโรคนี้อยู่อีกมากถึงร้อยละ 5 จึงเป็นปัญหาสุขภาพที่ต้องได้รับความเอาใจใส่ดูแลและแก้ไขให้ถูกต้อง เพื่อให้เด็กมีสุขภาพดีและเป็นกำลังของชาติที่สมบูรณ์ต่อไป รวมทั้งการให้ความรู้แก่มารดาขณะตั้งครรภ์ให้ระวังสุขภาพของตนเองและสุขภาพของลูกในครรภ์พร้อมกันเพื่อให้สุขภาพทั้งของมารดาและทารกพัฒนาไปอย่างสมบูรณ์พร้อมกันทั้งร่างกายและจิตใจได้อย่างเต็มที่ ซึ่งคุณภาพของเด็กและเยาวชนเกิดขึ้นได้จากการเห็นความสำคัญของเด็กโดยให้ความสำคัญอย่างจริงจังตั้งแต่การตั้งครรภ์ของแม่และการดูแลครรภ์ที่ถูกต้องระหว่างตั้งครรภ์ถือเป็นการใส่ใจดูแลสุขภาพของแม่ท้องในช่วงตั้งครรภ์ ที่บ่งบอกถึงความก้าวหน้าของการตั้งครรภ์ พัฒนาการที่ดีของลูกในครรภ์ รวมไปถึงสุขภาพที่ดีของแม่และลูกนับตั้งแต่ตั้งครรภ์จนถึงหลังคลอด6 และเพื่อให้การตั้งครรภ์ดำเนินไปอย่างมีพัฒนาการที่ดีแม่ตั้งครรภ์ควรใส่ใจดูแลตัวเองในเรื่องหลักๆ ดังนี้คือ การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การพักผ่อนที่เพียงพอ การออกกำลังกายที่เหมาะสมการกระตุ้นพัฒนาการลูกในครรภ์ และที่ขาดไม่ได้คือการใส่ใจกับการฝากครรภ์ เพราะจะได้รับการตรวจร่างกายและคำ แนะนำในการปฏิบัติตนที่ถูกต้อง การติดตามการเจริญเติบโตและความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นกับเด็กในครรภ์ และเพื่อให้เด็กคลอดออกมาอย่างสมบูรณ์แข็งแรงปลอดภัยนอกจากการใส่ใจกับการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์และการได้รับการฝากครรภ์ ยังพบว่าอายุของแม่ขณะตั้งครรภ์ การได้รับยาบำรุงครรภ์ การดื่มเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ โรคประจำตัว ภาวะแทรกซ้อนและการเชื้อของแม่ขณะตั้งครรภ์ก็มีผลต่อภาวะแรกเกิดของทารกอันจะส่งผลต่อการเจริญเติบโตต่อไป เช่น แม่ที่มีอายุน้อยกว่า 18 ปี และยังไม่เคยมีบุตรมีความเสี่ยงต่อการคลอดทารกที่มีน้ำหนักตัวน้อยการได้รับยาบำรุงขณะตั้งครรภ์โดยเฉพาะไอโอดีนที่มีความจำเป็นต่อการพัฒนาสมองและระบบประสาทถ้าระหว่างตั้งครรภ์แม่ไม่ได้รับหรือได้รับไม่เพียงพอก็จะส่งผลให้ทารกมีสติปัญญาลดลงก่อให้เกิดภาวะสมองพิการและหูหนวกได้9 จากการวิจัยพบว่าเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี ที่ขาดไอโอดีนจะมีระดับสติปัญญาต่ำกว่าเด็กที่ไม่ขาดสารไอโอดีน 6.9 - 10.2และจากการสำรวจสถานการณ์ไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ ปี 2552 พบว่า หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน ร้อยละ 52.51 ส่วนพฤติกรรมของหญิงตั้งครรภ์กับการดื่มเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ขณะตั้งครรภ์ พบว่า จะก่อให้เกิดผลเสียต่อทารกในครรภ์ไม่ว่าจะเป็นความผิดปกติบริเวณใบหน้า แขน ขา และการเจริญเติบโต รวมทั้งปัญหาทางด้านพฤติกรรมและความสามารถทางสติปัญญา ซึ่งการศึกษาในต่างประเทศพบว่าจะเกิดกลุ่มอาการผิดปกติของทารกในครรภ์ที่เกิดจากการดื่มเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ของหญิงตั้งครรภ์ทั่วโลก ประมาณ 9 รายต่อทารกแรกเกิด 1,000 คน และระหว่างตั้งครรภ์แม่มีโรคประจำตัว ได้รับเชื้อหรือมีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์เช่น เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ครรภ์เป็นพิษ เป็นต้น ย่อมทำให้เกิดผลกระทบต่อทารกที่อยู่ในครรภ์ เช่น การคลอดก่อนกำหนด ภาวะน้ำหนักตัวมากหรือน้อยกว่าปกติ และการขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด เป็นต้น ซึ่งการติดเชื้อของทารกในช่วงปริกำเนิดที่สำคัญ ได้แก่เอชไอวี หัดเยอรมัน เชื้อสุกใส Cytomegalovirus (CMV) และ Toxoplasmosis เป็นต้น ซึ่งเชื้อบางชนิดก่อให้เกิดผลเสียต่อระบบประสาทและก่อให้เกิดความพิการต่อทารกได้จากที่กล่าวมาข้างต้นทำให้พบว่าการฝากครรภ์ ภาวะแทรกซ้อน การติดเชื้อและพฤติกรรมของแม่ขณะตั้งครรภ์มีความสัมพันธ์ต่อภาวะแรกเกิดของทารก สามารถทำให้ทารกมีน้ำหนักแรกเกิดน้อย คลอดก่อนกำหนด ขาดออกซิเจนเมื่อแรกเกิด และมีภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดซึ่งสิ่งดังกล่าวก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของเด็กตามมา โดยเฉพาะในทารกที่คลอดก่อนกำหนดหรือมีน้ำหนักแรกเกิดน้อยดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ยจึงจัดทำโครงการ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ของแม่ที่มีผลต่อภาวะแรกเกิดของทารก เพื่อในการจัดบริการสุขภาพที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และเพื่อทำให้เด็กไทยเป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์มีความตระหนักในการป้องกันเพื่อลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์
  2. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์มีความความรู้ในการป้องกันเพื่อลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์และสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 162
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 107
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.หญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์มีความรู้การป้องกันภาวะเสี่ยงก่อนและขณะตั้งครรภ์ร้อยละ ๘๐ ๒.หญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์มีความตระหนักในการป้องกันภาวะเสี่ยงก่อนและขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ ๘๐ ๓. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์ลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้หญิงวัยเจริญพันธ์

    วันที่ 11 กันยายน 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    จากผลการดำเนินโครงการ “โครงการเตรียมพร้อมรับมือ ลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์” ประจำปีงบประมาณ ๒๔๖0 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลทุ่งนุ้ย เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน ๒๕๖0 ถึงเดือนกันยายน ๑๕๖0 ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย การให้ความรู้กับหญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และสามี เพื่อจะได้รับความรู้ในเรื่องการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตัวก่อนและขณะตั้งครรภ์เพื่อก่อให้เกิดการตระหนักในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดภาวะซีด โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน และการให้ความรู้ในครั้งนี้หากหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคดังกล่าวแล้ว สามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมเพื่อนำไปปฏิบัติให้ถูกต้องเกี่ยวกับโรคที่เป็นอยู่เพื่อลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอดได้ และได้ให้ความรู้กับสามีและผู้ใกล้ชิดเพื่อร่วมกันดูแลหญิงตั้งครรภ์ โดยการจัดอบรมให้กับหญิงวัยเจริญพันธ์ จำนวน ๑๖๒ คน หญิงตั้งครรภ์และสามี    ๑0๗ คน ผลการได้รับความรู้เท่ากับ ร้อยละ ๑00

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    162 0

    2. อบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และสามี

    วันที่ 12 กันยายน 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    จากผลการดำเนินโครงการ “โครงการเตรียมพร้อมรับมือ ลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์” ประจำปีงบประมาณ ๒๔๖0 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลทุ่งนุ้ย เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน ๒๕๖0 ถึงเดือนกันยายน ๑๕๖0 ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย การให้ความรู้กับหญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และสามี เพื่อจะได้รับความรู้ในเรื่องการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตัวก่อนและขณะตั้งครรภ์เพื่อก่อให้เกิดการตระหนักในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดภาวะซีด โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน และการให้ความรู้ในครั้งนี้หากหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคดังกล่าวแล้ว สามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมเพื่อนำไปปฏิบัติให้ถูกต้องเกี่ยวกับโรคที่เป็นอยู่เพื่อลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอดได้ และได้ให้ความรู้กับสามีและผู้ใกล้ชิดเพื่อร่วมกันดูแลหญิงตั้งครรภ์ โดยการจัดอบรมให้กับหญิงวัยเจริญพันธ์ จำนวน ๑๖๒ คน หญิงตั้งครรภ์และสามี    ๑0๗ คน ผลการได้รับความรู้เท่ากับ ร้อยละ ๑00

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    107 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์มีความตระหนักในการป้องกันเพื่อลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์มีความความรู้ในการป้องกันเพื่อลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์และสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 269
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 162
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 107
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์มีความตระหนักในการป้องกันเพื่อลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์ (2) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์มีความความรู้ในการป้องกันเพื่อลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์และสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเตรียมพร้อมรับมือ ลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 52816001

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวไลล่า บินตะสอน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด