โครงการแกนนำสูงวัย ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแกนนำสูงวัย ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ”
ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายแพทย์ชุติมันต์ พงศ์ไตรภูมิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่
ธันวาคม 2564
ชื่อโครงการ โครงการแกนนำสูงวัย ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก
ที่อยู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3366-1-10 เลขที่ข้อตกลง 10/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแกนนำสูงวัย ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแกนนำสูงวัย ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ตำบลเขาปู่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1การสำรวจตนเองและค้นหาปัญหา กิจกรรมที่ 2การตรวจสุขภาพช่องปาก กิจกรรมที่ 3ให้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมที่ 4ให้การส่งเสริมการป้องกันโรคเบื้องต้น
ปัญหา/อุปสรรค
1.เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 ทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมสำรวจสุขภาวะช่องปากและทำการส่งเสริมป้องกันโรคอย่างเต็มที่
แนวทางการแก้ไข
1.หลังจากสถานการณ์โควิด-19 ดีขึ้น เร่งการดำเนินกิจกรรมสำรวจสุขภาวะช่องปากและทำการส่งเสริมป้องกันโรค รวมถึงให้การรักษาปัญหาช่องปากในประชากรผู้สูงอายุทั้งในกลุ่มติดสังคม ติดบ้าน และติดเตียงอย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มประชากรที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมไทยที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสำคัญ ให้การยกย่องนับถือเนื่องจากเป็นกลุ่มบุคคลที่เคยเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ สำหรับประเทศไทยสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว กลุ่มผู้สูงอายุจึงเป็นกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่สังคมจำเป็นต้องเตรียมการและนำไปสู่การใช้ชีวิตประจำวันอย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สุขภาพช่องปากจัดเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญของสุขภาพโดยรวม ผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาในช่องปากและเนื้อเยื่อ เช่น น้ำลาย การรับรส เนื้อเยื่ออ่อนและเนื้อเยื่อแข็งในช่องปากรวมถึงฟัน เป็นต้น ซึ่งส่งผลให้เกิดโรคในช่องปากได้ง่ายขึ้น ซึ่งประเด็นปัญหาสุขภาพช่องปากที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ได้แก่ การสูญเสียฟัน ฟันผุและรากฟันผุ โรคปริทันต์ แผลและมะเร็งช่องปาก สภาวะน้ำลายแห้ง ฟันสึก และสภาวะช่องปากอื่น ๆ ที่สัมพันธ์กับโรคทางระบบ จากผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศครั้งที่ 8 ในปี 2560 ที่ได้ทำการสำรวจในผู้สูงอายุพบว่ามีปัญหาการสูญเสียฟันที่ส่งผลให้ประสิทธิภาพการบดเคี้ยวลดลงอย่างชัดเจน ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงของภาวะขาดสารอาหาร การมีปัญหาในการสื่อสาร การเข้าสังคม รวมถึงการมีปัจจัยเสี่ยงร่วมกันระหว่างโรคเรื้อรังกับโรคในช่องปาก โดยที่การสูญเสียฟันโดยเฉพาะการสูญเสียฟันทั้งปากในกลุ่มอายุ 80-85 ปี เพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 31.0 ส่วนฟันถาวรที่เหลืออยู่จำนวนหนึ่งก็มีปัญหา ซึ่งในจำนวนนี้มีฟันผุที่ไม่ได้รับการรักษาคิดเป็นร้อยละ52.6 และโรคปริทันต์อักเสบร้อยละ 36.3 โดยที่รอยโรคเหล่านี้มีการสะสมมาก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ และมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นตามเวลาที่ผ่านไป ซึ่งโรคในช่องปากเหล่านี้ก็สามารถนำไปสู่การสูญเสียฟันในกลุ่มผู้สูงอายุได้อีกเช่นกัน นอกจากนี้การตรวจเนื้อเยื่อในช่องปากของผู้สูงอายุพบว่าบางส่วนมีเนื้อเยื่อที่ผิดปกติ ซึ่งแม้จะพบจำนวนไม่มากแต่หากไม่ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้อง อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นมะเร็งช่องปากได้
ผลการสำรวจเป็นไปในทางเดียวกันกับผู้สูงอายุในอำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง ดังนั้นผู้สูงอายุจึงจำเป็นต้องได้รับการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากอย่างเหมาะสมเพื่อลดโอกาสการเกิดความเจ็บปวด การสูญเสียฟัน ซึ่งส่งผลต่อระบบสุขภาพ และคุณภาพชีวิตโดยรวมของผู้สูงอายุ โดยวิธีการป้องกันโรคในช่องปากสำคัญ คือการทำความสะอาดช่องปากด้วยวิธีการที่เหมาะสม ร่วมกับการส่งเสริมทันตสุขภาพโดยวิธีการให้ความรู้และวิธีปฏิบัติในการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วย รวมถึงการให้ความสำคัญในการตรวจคัดกรองรอยโรคและลดปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง
ดังนั้นเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการลดการสูญเสียฟันในกลุ่มผู้สูงอายุ แผนกทันตกรรมโรงพยาบาลศรีบรรพตจึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพปากและฟัน จึงเห็นสมควรส่งเสริมให้ผู้สูงอายุของชมรมผู้สูงอายุตำบลเขาปู่มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี มีสุขภาพช่องปากดี จึงได้จัดทำโครงการ แกนนำสูงวัย ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ สามารถดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้และสามารถเป็นกระบอกเสียงในการดูแลสุขภาพช่องปากจากสูงวัยสู่ทุกวัย โดยสามารถให้ความรู้แก่คนในครอบครัวหรือแม้แต่เพื่อนวัยเดียวกัน ซึ่งในระยะยาวจะส่งผลให้คนรุ่นหลังสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างเหมาะสมซึ่งจะลดการสูญเสียฟัน และส่งเสริมให้คุณภาพชีวิตโดยรวมดียิ่งขึ้นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ตำบลเขาปู่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1การสำรวจตนเองและค้นหาปัญหา กิจกรรมที่ 2การตรวจสุขภาพช่องปาก กิจกรรมที่ 3ให้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมที่ 4ให้การส่งเสริมการป้องกันโรคเบื้องต้น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่อง โรคในช่องปากและการดูแลช่องปากได้อย่างถูกต้อง
2 ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างถูกต้องและสามารถเป็นกระบอกเสียงในการดูแลสุขภาพช่องปากแก่ผู้อื่นได้
3 เพื่อตรวจสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุภายในชมรมผู้สูงอายุและให้การส่งเสริมการป้องกันโรคเบื้องต้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผู้สูงอายุที่ได้ดำเนินกิจกรรมสำรวจสุขภาวะช่องปากได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากได้รับการส่งเสริมป้องกันโรคเบื้องต้น น้อยกว่าร้อยละ 70 ซึ่งถือว่าไม่ผ่านตัวชี้วัด
โครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดข้อที่ 1 และ 2 และทำการส่งเสริมป้องกันโรคได้อย่างเต็มที่
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ตำบลเขาปู่
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคในช่องปาก
-ร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างเหมาะสม
-ร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับการส่งเสริมการป้องกันโรคเบื้องต้น
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
20
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ตำบลเขาปู่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1การสำรวจตนเองและค้นหาปัญหา กิจกรรมที่ 2การตรวจสุขภาพช่องปาก กิจกรรมที่ 3ให้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมที่ 4ให้การส่งเสริมการป้องกันโรคเบื้องต้น
ปัญหา/อุปสรรค
1.เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 ทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมสำรวจสุขภาวะช่องปากและทำการส่งเสริมป้องกันโรคอย่างเต็มที่
แนวทางการแก้ไข
1.หลังจากสถานการณ์โควิด-19 ดีขึ้น เร่งการดำเนินกิจกรรมสำรวจสุขภาวะช่องปากและทำการส่งเสริมป้องกันโรค รวมถึงให้การรักษาปัญหาช่องปากในประชากรผู้สูงอายุทั้งในกลุ่มติดสังคม ติดบ้าน และติดเตียงอย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแกนนำสูงวัย ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3366-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายแพทย์ชุติมันต์ พงศ์ไตรภูมิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแกนนำสูงวัย ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ”
ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายแพทย์ชุติมันต์ พงศ์ไตรภูมิ
ธันวาคม 2564
ที่อยู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3366-1-10 เลขที่ข้อตกลง 10/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแกนนำสูงวัย ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแกนนำสูงวัย ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ตำบลเขาปู่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1การสำรวจตนเองและค้นหาปัญหา กิจกรรมที่ 2การตรวจสุขภาพช่องปาก กิจกรรมที่ 3ให้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมที่ 4ให้การส่งเสริมการป้องกันโรคเบื้องต้น
ปัญหา/อุปสรรค 1.เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 ทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมสำรวจสุขภาวะช่องปากและทำการส่งเสริมป้องกันโรคอย่างเต็มที่ แนวทางการแก้ไข 1.หลังจากสถานการณ์โควิด-19 ดีขึ้น เร่งการดำเนินกิจกรรมสำรวจสุขภาวะช่องปากและทำการส่งเสริมป้องกันโรค รวมถึงให้การรักษาปัญหาช่องปากในประชากรผู้สูงอายุทั้งในกลุ่มติดสังคม ติดบ้าน และติดเตียงอย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มประชากรที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมไทยที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสำคัญ ให้การยกย่องนับถือเนื่องจากเป็นกลุ่มบุคคลที่เคยเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ สำหรับประเทศไทยสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว กลุ่มผู้สูงอายุจึงเป็นกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่สังคมจำเป็นต้องเตรียมการและนำไปสู่การใช้ชีวิตประจำวันอย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สุขภาพช่องปากจัดเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญของสุขภาพโดยรวม ผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาในช่องปากและเนื้อเยื่อ เช่น น้ำลาย การรับรส เนื้อเยื่ออ่อนและเนื้อเยื่อแข็งในช่องปากรวมถึงฟัน เป็นต้น ซึ่งส่งผลให้เกิดโรคในช่องปากได้ง่ายขึ้น ซึ่งประเด็นปัญหาสุขภาพช่องปากที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ได้แก่ การสูญเสียฟัน ฟันผุและรากฟันผุ โรคปริทันต์ แผลและมะเร็งช่องปาก สภาวะน้ำลายแห้ง ฟันสึก และสภาวะช่องปากอื่น ๆ ที่สัมพันธ์กับโรคทางระบบ จากผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศครั้งที่ 8 ในปี 2560 ที่ได้ทำการสำรวจในผู้สูงอายุพบว่ามีปัญหาการสูญเสียฟันที่ส่งผลให้ประสิทธิภาพการบดเคี้ยวลดลงอย่างชัดเจน ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงของภาวะขาดสารอาหาร การมีปัญหาในการสื่อสาร การเข้าสังคม รวมถึงการมีปัจจัยเสี่ยงร่วมกันระหว่างโรคเรื้อรังกับโรคในช่องปาก โดยที่การสูญเสียฟันโดยเฉพาะการสูญเสียฟันทั้งปากในกลุ่มอายุ 80-85 ปี เพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 31.0 ส่วนฟันถาวรที่เหลืออยู่จำนวนหนึ่งก็มีปัญหา ซึ่งในจำนวนนี้มีฟันผุที่ไม่ได้รับการรักษาคิดเป็นร้อยละ52.6 และโรคปริทันต์อักเสบร้อยละ 36.3 โดยที่รอยโรคเหล่านี้มีการสะสมมาก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ และมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นตามเวลาที่ผ่านไป ซึ่งโรคในช่องปากเหล่านี้ก็สามารถนำไปสู่การสูญเสียฟันในกลุ่มผู้สูงอายุได้อีกเช่นกัน นอกจากนี้การตรวจเนื้อเยื่อในช่องปากของผู้สูงอายุพบว่าบางส่วนมีเนื้อเยื่อที่ผิดปกติ ซึ่งแม้จะพบจำนวนไม่มากแต่หากไม่ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้อง อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นมะเร็งช่องปากได้
ผลการสำรวจเป็นไปในทางเดียวกันกับผู้สูงอายุในอำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง ดังนั้นผู้สูงอายุจึงจำเป็นต้องได้รับการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากอย่างเหมาะสมเพื่อลดโอกาสการเกิดความเจ็บปวด การสูญเสียฟัน ซึ่งส่งผลต่อระบบสุขภาพ และคุณภาพชีวิตโดยรวมของผู้สูงอายุ โดยวิธีการป้องกันโรคในช่องปากสำคัญ คือการทำความสะอาดช่องปากด้วยวิธีการที่เหมาะสม ร่วมกับการส่งเสริมทันตสุขภาพโดยวิธีการให้ความรู้และวิธีปฏิบัติในการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วย รวมถึงการให้ความสำคัญในการตรวจคัดกรองรอยโรคและลดปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง
ดังนั้นเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการลดการสูญเสียฟันในกลุ่มผู้สูงอายุ แผนกทันตกรรมโรงพยาบาลศรีบรรพตจึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพปากและฟัน จึงเห็นสมควรส่งเสริมให้ผู้สูงอายุของชมรมผู้สูงอายุตำบลเขาปู่มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี มีสุขภาพช่องปากดี จึงได้จัดทำโครงการ แกนนำสูงวัย ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ สามารถดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้และสามารถเป็นกระบอกเสียงในการดูแลสุขภาพช่องปากจากสูงวัยสู่ทุกวัย โดยสามารถให้ความรู้แก่คนในครอบครัวหรือแม้แต่เพื่อนวัยเดียวกัน ซึ่งในระยะยาวจะส่งผลให้คนรุ่นหลังสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างเหมาะสมซึ่งจะลดการสูญเสียฟัน และส่งเสริมให้คุณภาพชีวิตโดยรวมดียิ่งขึ้นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ตำบลเขาปู่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1การสำรวจตนเองและค้นหาปัญหา กิจกรรมที่ 2การตรวจสุขภาพช่องปาก กิจกรรมที่ 3ให้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมที่ 4ให้การส่งเสริมการป้องกันโรคเบื้องต้น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่อง โรคในช่องปากและการดูแลช่องปากได้อย่างถูกต้อง 2 ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างถูกต้องและสามารถเป็นกระบอกเสียงในการดูแลสุขภาพช่องปากแก่ผู้อื่นได้ 3 เพื่อตรวจสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุภายในชมรมผู้สูงอายุและให้การส่งเสริมการป้องกันโรคเบื้องต้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผู้สูงอายุที่ได้ดำเนินกิจกรรมสำรวจสุขภาวะช่องปากได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากได้รับการส่งเสริมป้องกันโรคเบื้องต้น น้อยกว่าร้อยละ 70 ซึ่งถือว่าไม่ผ่านตัวชี้วัด โครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดข้อที่ 1 และ 2 และทำการส่งเสริมป้องกันโรคได้อย่างเต็มที่
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ตำบลเขาปู่ ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคในช่องปาก -ร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างเหมาะสม -ร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับการส่งเสริมการป้องกันโรคเบื้องต้น |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | 20 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | 20 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ตำบลเขาปู่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1การสำรวจตนเองและค้นหาปัญหา กิจกรรมที่ 2การตรวจสุขภาพช่องปาก กิจกรรมที่ 3ให้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมที่ 4ให้การส่งเสริมการป้องกันโรคเบื้องต้น
ปัญหา/อุปสรรค 1.เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 ทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมสำรวจสุขภาวะช่องปากและทำการส่งเสริมป้องกันโรคอย่างเต็มที่ แนวทางการแก้ไข 1.หลังจากสถานการณ์โควิด-19 ดีขึ้น เร่งการดำเนินกิจกรรมสำรวจสุขภาวะช่องปากและทำการส่งเสริมป้องกันโรค รวมถึงให้การรักษาปัญหาช่องปากในประชากรผู้สูงอายุทั้งในกลุ่มติดสังคม ติดบ้าน และติดเตียงอย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแกนนำสูงวัย ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3366-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายแพทย์ชุติมันต์ พงศ์ไตรภูมิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......