กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง


“ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขพิชิตโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ชุมชนตลาดสด ปี 2560 ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางจิตรอุมา วงศ์ชวลิต

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขพิชิตโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ชุมชนตลาดสด ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L7580-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขพิชิตโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ชุมชนตลาดสด ปี 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขพิชิตโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ชุมชนตลาดสด ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขพิชิตโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ชุมชนตลาดสด ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L7580-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญระดับโลก ซึ่งส่งผลคุกคามต่อสุขภาพของประชาชนและการพัฒนาประเทศ จากรายงานองค์การอนามัยโลก จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังประมาณ 36 ล้านคน (ร้อยละ63) โดยประมาณร้อยละ 44 เสียชีวิตก่อนอายุ สำหรับประเทศไทย ถึงแม้จะมีแผนงานที่ดำเนินการเกี่ยวข้องกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญ คือ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง แต่การจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังดังกล่าวยังไม่ได้ผลเท่าที่ควรมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เปรียบเทียบปี พ.ศ.2554-2557 เท่ากับร้อยละ 22.47 23.45 26.91 และ 27.83 ตามลำดับ นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ที่นำไปสู่การเสียชีวิตในที่สุด ข้อมูลล่าสุดจากองค์การอนามัยโลก (WHO) เผยว่าความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุหลักอันดับหนึ่งของอัตราการเสียชีวิตทั่วโลก โดยภาวะความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่ก่อให้เกิดโรคทางหลอดเลือดต่างๆ โดยเฉพาะโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง ซึ่งคร่าชีวิตคนทั่วโลกมากกว่า 6-7 ล้านรายทุกปี อันเนื่องมาจากสาเหตุ ดังนี้การขาดการออกกำลังกายสุขนิสัยการรับประทานอาหารไม่ถูกต้องปัญหาด้านความเครียดเช่น ฐานะทางเศรษฐกิจไม่ดีทำให้รายรับไม่พอกับรายจ่าย มีปัญหาครอบครัวปัญหาส่วนตัวและปัญหาในการทำงานเป็นต้นซึ่งเมื่อป่วยเป็นโรคนี้แล้วไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้แต่สามารถควบคุมและป้องกันได้ถ้ามีการปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องและยังเป็นสาเหตุทำให้เกิดความผิดปกติของอวัยวะที่สำคัญ เช่น หัวใจ สมอง ไต ประสาทตาซึ่งส่งผลให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่าง ๆและความพิการตามมาทีหลังได้ยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพของ ต่อสมาชิกในครอบครัว ทำให้บุคคลในครอบครัวต้องวิตกกังวลและรับภาระการดูแลผู้ป่วยผลกระทบต่อชุมชนในกรณีที่มีผู้ป่วยพิการทำให้ชุมชนพัฒนาไปอย่างล่าช้าและยังส่งผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศด้วย จากการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนตลาดสด ต.ฉลุง อ.เมือง จ.สตูล พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 118 คน จากประชากร จำนวน361 คน คิดเป็นร้อยละ 32.68 สาเหตุเกิดจากกรรมพันธุ์และพฤติกรรมของประชาชนเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประกอบกับระบบการป้องกันดูแลเชิงรุกของอาสาสมัครสาธารณสุขยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เนื่องจากอาสาสมัครสาธารณสุขยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกัน ควบคุม รักษา และการเฝ้าระวังคัดกรองโรคเรื้อรัง และขาดการมีส่วนร่วมของชุมชน ครอบครัวในการดูแลสุขภาพของกันและกัน ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานชุมชนตลาดสดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขพิชิตโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ชุมชนตลาดสดปี 2560ขึ้น เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจ สามารถป้องกัน เฝ้าระวัง และคัดกรองโรคความดันโลหิตและเบาหวานรวมทั้งประชาชนในชุมชนเข้ามามีบทบาทในการเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพแบบยั่งยืนเพื่อมุ่งหวังในการที่จะส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ของชุมชนได้อย่างงยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนตลาดสดมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนตลาดสดนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้กับกลุ่มเสี่ยงประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนตลาดสดเกิดความตระหนักมีส่วนร่วมในการดูแลป้องกัน ควบคุม และการเฝ้าระวังคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานของประชาชน ครอบครัว ชุมชนตลาดสด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 37
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    -อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำครอบครัวชุมชนตลาดสดมีการพัฒนาศักยภาพความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง

    -อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำครอบครัวชุมชนตลาดสดนำความรู้ที่ได้รับไปดูแล สุขภาพของประชาชน ครอบครัว ชุมชนตลาดสดได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    -อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำครอบครัวชุมชนตลาดสดเกิดความตระหนักมีส่วนร่วม ในการดูแลป้องกัน ควบคุม และการเฝ้าระวังคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ของประชาชน ครอบครัว ชุมชนตลาดสด


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมเชิงปฏิบัติการโดยการใช้แผนผังเครือญาติในการป้องกันเรื่องควบคุมโรคไม่ติดต่อ (ความดัน-เบาหวาน) ความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคคว

    วันที่ 21 สิงหาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.1 การประเมินความรู้ก่อนการอบรมให้ความรู้ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 37 คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับปานกลางจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 65 และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดี จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 35 การประเมินความรู้หลังการอบรมให้ความรู้ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 37 คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดี จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 27.03 และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดีมาก จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 72.97 1.2 การประเมินการทำแผนผังเครือญาติ เพื่อเฝ้าระวังป้องกันโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ปรากฏว่ากลุ่มเป้าหมายสามารถทำแผนผังเครือญาติและทราบถึงบุคคลในครัวเรือนที่ทำผังเครือญาติที่มีความเสี่ยงต่อโรคดังกล่าวในเขตรับผิดชอบของตนเองและภาพรวมของชุมชน ทำให้การดำเนินงานควบคุมโรคมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น กลุ่มเป้าหมายได้นำความรู้และทักษะไปถ่ายทอดให้กลุ่มเสี่ยงได้อย่งมีประสิทธิภาพ 1.3 การประเมินความพึงพอใจของการจัดการอบรม ภาพรวมความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 95 และระดับดี คิดเป็นร้อยละ 5 เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายต้องการให้เพิ่มระยะเวลาในการจัดอบรม

     

    37 37

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.1 การประเมินความรู้ก่อนการอบรมให้ความรู้ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 37 คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับปานกลางจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 65 และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดี จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 35   การประเมินความรู้หลังการอบรมให้ความรู้ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 37 คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดี จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 27.03 และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดีมาก จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 72.97
    1.2 การประเมินการทำแผนผังเครือญาติ เพื่อเฝ้าระวังป้องกันโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ปรากฏว่ากลุ่มเป้าหมายสามารถทำแผนผังเครือญาติและทราบถึงบุคคลในครัวเรือนที่ทำผังเครือญาติที่มีความเสี่ยงต่อโรคดังกล่าวในเขตรับผิดชอบของตนเองและภาพรวมของชุมชน ทำให้การดำเนินงานควบคุมโรคมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น กลุ่มเป้าหมายได้นำความรู้และทักษะไปถ่ายทอดให้กลุ่มเสี่ยงได้อย่งมีประสิทธิภาพ
    1.3 การประเมินความพึงพอใจของการจัดการอบรม ภาพรวมความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 95 และระดับดี คิดเป็นร้อยละ 5 เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายต้องการให้เพิ่มระยะเวลาในการจัดอบรม

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาศักยภาพให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนตลาดสดมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำครอบครัวชุมชนตลาดสดมีการพัฒนาศักยภาพความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานอย่างถูกต้องร้อยละ 80

     

    2 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนตลาดสดนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้กับกลุ่มเสี่ยงประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำครอบครัวชุมชนตลาดสดนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลสุขภาพของประชาชน ครอบครัว ชุมชนตลาดสดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 80

     

    3 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนตลาดสดเกิดความตระหนักมีส่วนร่วมในการดูแลป้องกัน ควบคุม และการเฝ้าระวังคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานของประชาชน ครอบครัว ชุมชนตลาดสด
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำครอบครัวชุมชนตลาดสดเกิดความตระหนักมีส่วนร่วมในการดูแลป้องกัน ควบคุม และการเฝ้าระวังคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ของประชาชน ครอบครัว ชุมชนตลาดสด ร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 37
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 37
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนตลาดสดมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนตลาดสดนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้กับกลุ่มเสี่ยงประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนตลาดสดเกิดความตระหนักมีส่วนร่วมในการดูแลป้องกัน ควบคุม และการเฝ้าระวังคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานของประชาชน ครอบครัว ชุมชนตลาดสด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขพิชิตโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ชุมชนตลาดสด ปี 2560 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L7580-2-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางจิตรอุมา วงศ์ชวลิต )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด