โครงการเด็กปฐมวัย ยิ้มสดใส ห่างไกลฟันผุ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กปฐมวัย ยิ้มสดใส ห่างไกลฟันผุ ”
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลยะหา
หัวหน้าโครงการ
คลินิกหมอครอบครัว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหา
สิงหาคม 2564
ชื่อโครงการ โครงการเด็กปฐมวัย ยิ้มสดใส ห่างไกลฟันผุ
ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลยะหา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กปฐมวัย ยิ้มสดใส ห่างไกลฟันผุ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลยะหา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปฐมวัย ยิ้มสดใส ห่างไกลฟันผุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กปฐมวัย ยิ้มสดใส ห่างไกลฟันผุ " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลยะหา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,275.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาฟันผุในฟันน้ำนมของเด็กปฐมวัยสามารถเกิดได้ตั้งแต่ฟันซี่แรกขึ้นมาในช่องปาก อยู่ในช่วงอายุประมาณ 6 เดือน เนื่องจากเคลือบฟันน้ำนมมีความหนาน้อยกว่าเคลือบฟันถาวรครึ่งหนึ่ง จึงเกิดฟันผุได้ง่ายกว่ามาก หนึ่งในสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดปัญหาฟันผุ คือ การเลี้ยงดูของครอบครัว เช่น การปล่อยให้เด็กหลับคาขวดนม การรับประทานขนมตามใจชอบและไม่ยอมแปรงฟัน อีกทั้งผู้ปกครองหลายคนยังมีความเชื่อผิด ๆ ว่า ฟันน้ำนมไม่จำเป็นต้องดูแลก็ได้ เดี๋ยวก็มีฟันถาวรขึ้นมาแทนที่ จึงไม่ใส่ใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเท่าที่ควร ยังขาดการเข้าถึง เข้าใจ และนำข้อมูลด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากมาใช้ให้เป็นประโยชน์ มีหลายการศึกษาที่ระบุว่า ความแตกฉานด้านสุขภาพ (Health Literacy) ของผู้ปกครอง สัมพันธ์กับสภาวะฟันผุในเด็กเล็กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยผู้ปกครองที่มีความแตกฉานด้านสุขภาพในระดับดี เด็กจะไม่มีฟันผุเกิดขึ้น นอกจากนี้ ฟันน้ำนมยังมีหน้าที่ในการบดเคี้ยวอาหาร ให้ความสวยงาม สร้างความมั่นใจให้เด็ก รวมถึงความประทับใจแก่ผู้พบเห็นอีกด้วย และสำคัญ คือ ช่วยกันที่ไว้สำหรับฟันถาวรที่กำลังจะขึ้นในอนาคต ดังนั้น หากมีการผุหรือสูญเสียฟันน้ำนมไปก่อนกำหนด จะทำให้เด็กมีความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ และได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ จึงส่งผลต่อพัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็กได้
จากการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลยะหา ปีงบประมาณ 2562 พบว่า มีฟันน้ำนมผุ ร้อยละ 84.84 สอดคล้องกับข้อมูลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ซึ่งพบว่ากว่าร้อยละ ๕๐ ของเด็กไทยจะมีฟันผุก่อนเข้าเรียนในชั้นอนุบาล และยังพบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีคราบจุลินทรีย์สะสมบริเวณคอฟัน ซึ่งมีสาเหตุมาจากการแปรงฟันไม่สะอาดหรือผู้ปกครองไม่ได้แปรงฟันให้ก่อนมาโรงเรียน จากข้อมูลดังกล่าวนี้จะเห็นได้ว่า ปัญหายังอยู่ในระดับที่สูงมาก
โดยสรุป ปัญหาฟันน้ำนมผุเกิดได้จากหลายปัจจัย ทั้งด้านชีวภาพและด้านสังคมสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัจจัยหลังนี้เป็นที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลายว่ามีผลต่อการเกิดฟันผุค่อนข้างมาก งานทันตสาธารณสุขได้ตระหนักและเล็งเห็นว่า ปัญหาฟันน้ำนมผุเป็นปัญหาสำคัญที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน อีกทั้งควรมีการกระตุ้นให้ผู้ปกครองเกิดการพัฒนา การเรียนรู้ ความเข้าใจ และพฤติกรรมของตนเองซึ่งเป็นด่านแรกที่มีความสำคัญในการเฝ้าระวัง ปลูกฝัง กวดขัน ให้เด็กเกิดทักษะและการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง อันจะส่งผลให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี รวมถึงมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามไปด้วย จึงเห็นควรให้จัดโครงการดังกล่าวนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย 2.เพื่อยกระดับความแตกฉานด้านสุขภาพของผู้ปกครอง 3.เพื่อป้องกันและหยุดยั้งการเกิดฟันผุในปฐมวัย 4.เพื่อสร้างเสริมการมีส่วมร่วมของผู้ปกครอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการเด็กปฐมวัย ยิ้มสดใส ห่างไกลฟันผุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
35
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลยะหา มีอัตราการเกิดฟันผุในฟันน้ำนมลดลง
- ผู้ปกครองมีระดับความแตกฉานด้านสุขภาพที่ดีขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กได้
- ครูเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยเพิ่มมากขึ้น
- เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลยะหา มีอัตราการเกิดฟันผุในฟันน้ำนมลดลง
- ผู้ปกครองมีระดับความแตกฉานด้านสุขภาพที่ดีขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กได้
- ครูเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยเพิ่มมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย 2.เพื่อยกระดับความแตกฉานด้านสุขภาพของผู้ปกครอง 3.เพื่อป้องกันและหยุดยั้งการเกิดฟันผุในปฐมวัย 4.เพื่อสร้างเสริมการมีส่วมร่วมของผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองมีระดับความแตกฉานด้านสุขภาพที่ดีขึ้น
-ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยไม่มีคราบจุลินทรีย์สะสมบริเวณคอฟันฃ
-มีการลงบันทึกผลการตรวจสุขภาพช่องปากครบถ้วนอย่างน้อยร้อยละ 80
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
35
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
35
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย 2.เพื่อยกระดับความแตกฉานด้านสุขภาพของผู้ปกครอง 3.เพื่อป้องกันและหยุดยั้งการเกิดฟันผุในปฐมวัย 4.เพื่อสร้างเสริมการมีส่วมร่วมของผู้ปกครอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการเด็กปฐมวัย ยิ้มสดใส ห่างไกลฟันผุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กปฐมวัย ยิ้มสดใส ห่างไกลฟันผุ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( คลินิกหมอครอบครัว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กปฐมวัย ยิ้มสดใส ห่างไกลฟันผุ ”
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลยะหา
หัวหน้าโครงการ
คลินิกหมอครอบครัว
สิงหาคม 2564
ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลยะหา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กปฐมวัย ยิ้มสดใส ห่างไกลฟันผุ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลยะหา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปฐมวัย ยิ้มสดใส ห่างไกลฟันผุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กปฐมวัย ยิ้มสดใส ห่างไกลฟันผุ " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลยะหา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,275.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาฟันผุในฟันน้ำนมของเด็กปฐมวัยสามารถเกิดได้ตั้งแต่ฟันซี่แรกขึ้นมาในช่องปาก อยู่ในช่วงอายุประมาณ 6 เดือน เนื่องจากเคลือบฟันน้ำนมมีความหนาน้อยกว่าเคลือบฟันถาวรครึ่งหนึ่ง จึงเกิดฟันผุได้ง่ายกว่ามาก หนึ่งในสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดปัญหาฟันผุ คือ การเลี้ยงดูของครอบครัว เช่น การปล่อยให้เด็กหลับคาขวดนม การรับประทานขนมตามใจชอบและไม่ยอมแปรงฟัน อีกทั้งผู้ปกครองหลายคนยังมีความเชื่อผิด ๆ ว่า ฟันน้ำนมไม่จำเป็นต้องดูแลก็ได้ เดี๋ยวก็มีฟันถาวรขึ้นมาแทนที่ จึงไม่ใส่ใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเท่าที่ควร ยังขาดการเข้าถึง เข้าใจ และนำข้อมูลด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากมาใช้ให้เป็นประโยชน์ มีหลายการศึกษาที่ระบุว่า ความแตกฉานด้านสุขภาพ (Health Literacy) ของผู้ปกครอง สัมพันธ์กับสภาวะฟันผุในเด็กเล็กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยผู้ปกครองที่มีความแตกฉานด้านสุขภาพในระดับดี เด็กจะไม่มีฟันผุเกิดขึ้น นอกจากนี้ ฟันน้ำนมยังมีหน้าที่ในการบดเคี้ยวอาหาร ให้ความสวยงาม สร้างความมั่นใจให้เด็ก รวมถึงความประทับใจแก่ผู้พบเห็นอีกด้วย และสำคัญ คือ ช่วยกันที่ไว้สำหรับฟันถาวรที่กำลังจะขึ้นในอนาคต ดังนั้น หากมีการผุหรือสูญเสียฟันน้ำนมไปก่อนกำหนด จะทำให้เด็กมีความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ และได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ จึงส่งผลต่อพัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็กได้
จากการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลยะหา ปีงบประมาณ 2562 พบว่า มีฟันน้ำนมผุ ร้อยละ 84.84 สอดคล้องกับข้อมูลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ซึ่งพบว่ากว่าร้อยละ ๕๐ ของเด็กไทยจะมีฟันผุก่อนเข้าเรียนในชั้นอนุบาล และยังพบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีคราบจุลินทรีย์สะสมบริเวณคอฟัน ซึ่งมีสาเหตุมาจากการแปรงฟันไม่สะอาดหรือผู้ปกครองไม่ได้แปรงฟันให้ก่อนมาโรงเรียน จากข้อมูลดังกล่าวนี้จะเห็นได้ว่า ปัญหายังอยู่ในระดับที่สูงมาก
โดยสรุป ปัญหาฟันน้ำนมผุเกิดได้จากหลายปัจจัย ทั้งด้านชีวภาพและด้านสังคมสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัจจัยหลังนี้เป็นที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลายว่ามีผลต่อการเกิดฟันผุค่อนข้างมาก งานทันตสาธารณสุขได้ตระหนักและเล็งเห็นว่า ปัญหาฟันน้ำนมผุเป็นปัญหาสำคัญที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน อีกทั้งควรมีการกระตุ้นให้ผู้ปกครองเกิดการพัฒนา การเรียนรู้ ความเข้าใจ และพฤติกรรมของตนเองซึ่งเป็นด่านแรกที่มีความสำคัญในการเฝ้าระวัง ปลูกฝัง กวดขัน ให้เด็กเกิดทักษะและการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง อันจะส่งผลให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี รวมถึงมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามไปด้วย จึงเห็นควรให้จัดโครงการดังกล่าวนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย 2.เพื่อยกระดับความแตกฉานด้านสุขภาพของผู้ปกครอง 3.เพื่อป้องกันและหยุดยั้งการเกิดฟันผุในปฐมวัย 4.เพื่อสร้างเสริมการมีส่วมร่วมของผู้ปกครอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการเด็กปฐมวัย ยิ้มสดใส ห่างไกลฟันผุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 35 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลยะหา มีอัตราการเกิดฟันผุในฟันน้ำนมลดลง
- ผู้ปกครองมีระดับความแตกฉานด้านสุขภาพที่ดีขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กได้
- ครูเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยเพิ่มมากขึ้น
- เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลยะหา มีอัตราการเกิดฟันผุในฟันน้ำนมลดลง
- ผู้ปกครองมีระดับความแตกฉานด้านสุขภาพที่ดีขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กได้
- ครูเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยเพิ่มมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย 2.เพื่อยกระดับความแตกฉานด้านสุขภาพของผู้ปกครอง 3.เพื่อป้องกันและหยุดยั้งการเกิดฟันผุในปฐมวัย 4.เพื่อสร้างเสริมการมีส่วมร่วมของผู้ปกครอง ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองมีระดับความแตกฉานด้านสุขภาพที่ดีขึ้น -ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยไม่มีคราบจุลินทรีย์สะสมบริเวณคอฟันฃ -มีการลงบันทึกผลการตรวจสุขภาพช่องปากครบถ้วนอย่างน้อยร้อยละ 80 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 35 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 35 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย 2.เพื่อยกระดับความแตกฉานด้านสุขภาพของผู้ปกครอง 3.เพื่อป้องกันและหยุดยั้งการเกิดฟันผุในปฐมวัย 4.เพื่อสร้างเสริมการมีส่วมร่วมของผู้ปกครอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการเด็กปฐมวัย ยิ้มสดใส ห่างไกลฟันผุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กปฐมวัย ยิ้มสดใส ห่างไกลฟันผุ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( คลินิกหมอครอบครัว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......