กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา


“ โครงการ อย.น้อยในโรงเรียน โรงเรียนบ้านพระพุทธ ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีซัน สะมะแอ

ชื่อโครงการ โครงการ อย.น้อยในโรงเรียน โรงเรียนบ้านพระพุทธ

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L8287-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 พฤษภาคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อย.น้อยในโรงเรียน โรงเรียนบ้านพระพุทธ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อย.น้อยในโรงเรียน โรงเรียนบ้านพระพุทธ



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอย่างเหมาะสมและปลอดภัย (ขนาด 30.00) (2) เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนที่มีพฤติกรรมแยกแยะขยะถูกต้อง (ขนาด 30.00) (3) เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดีเหมาะสมตามวัย (ขนาด 50.00)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ นักเรียนได้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยและคุ้มค่า (2) กิจกรรมสร้างเครือข่าย / อย. น้อยสอนน้อง ทำให้โรงเรียนและนักเรียนมีเครือข่าย อย. น้อยในโรงเรียน เป็นตัวแทนแกนนำในการทำกิจกรรมเกี่ยวกับ อย.น้อย (3) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ นักเรียนได้มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ อย.น้อย ได้ง่ายยิ่งขึ้น (4) กิจกรรมสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน แม่ครัวและผู้ประกอบการจำหน่ายสินค้าในโรงเรียนรู้จักหลักการประกอบอาหารและจำหน่ายสินค้าที่ถูกหลักอนามัย นักเรียนสามารถแยกประเภทของขยะได้ถูกประเภท มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถังขยะ (5) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ นักเรียนได้รู้จักการอ่านค่าของสารปนเปื้อนที่ตวรจในอาหารว่าปลอดภัยหรือไม่ รู้จักการอ่านฉลากของยาและ อย ในอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) การดำเนินงานโครงการบางกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอบรมเป็นไปด้วยความล่าช้า เพราะสถานการณ์โควิดระบาทในพื้นที่ (2) ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองนักเรียน หรือ คนในชุมชนมีส่วนร่วมในโครงการด้วย

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กที่อยู่ในวัยเรียน ซึ่งเป็นผู้ที่กระตือรือร้นในการทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์ และเป็นผู้ที่มีศักยภาพในตัวเอง สามารถชี้นำเพื่อนและผู้ปกครองให้สนับสนุนการดำเนินงานที่ดีอย่างได้ผล โรงเรียนบ้านพระพุทธ จัดทำโครงการ อย.น้อยในโรงเรียน โรงเรียนบ้านพระพุทธ โดยนำศักยภาพของนักเรียนมาใช้ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการบริโภคอย่างเหมาะสมและปลอดภัย การคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย คุ้มค่า และสามารถเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย รวมทั้งสามารถสร้างกลุ่มแกนนำเครือข่าย อย.น้อยในโรงเรียน เผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน ครอบครัว และชุมชน ตลอดจนร่วมเป็นหูเป็นตาให้ อย. โดยการตรวจสอบ เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตลอดจนโฆษณาที่โอ้อวดเกินจริง
ดังนั้นเพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการช่วยกันตรวจสอบ และเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ และทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนนำความรู้ทักษะไปปฏิบัติ ดังนั้นโรงเรียนบ้านพระพุทธ จึงได้จัดทำโครงการ อย.น้อย ในโรงเรียน โรงเรียนบ้านพระพุทธ ขึ้นเพื่อเพิ่มความรู้และทักษะในการตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเพื่อช่วยให้โรงเรียน ตลอดจนในชุมชนได้รับความปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอย่างเหมาะสมและปลอดภัย (ขนาด 30.00)
  2. เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนที่มีพฤติกรรมแยกแยะขยะถูกต้อง (ขนาด 30.00)
  3. เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดีเหมาะสมตามวัย (ขนาด 50.00)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสร้างเครือข่าย / อย. น้อยสอนน้อง
  2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์
  3. กิจกรรมสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน
  4. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
  5. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - มัธยมศึกษาปีที่ 3 334

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอย่างเหมาะสมและปลอดภัยในชีวิตประจำวัน 2.นักเรียนมีพฤติกรรมการแยกขยะได้ถูกต้อง 3.นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดีเหมาะสมตามวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมสร้างเครือข่าย / อย. น้อยสอนน้อง

วันที่ 18 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมกับครูประจำชั้นในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - มัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยทำความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับโครงการ และขอความร่วมมือจากครูประจำชั้นช่วยคัดเลือกตัวแทนนักเรียน ห้องเรียนละ 3 คน (ปรับจากตอนแรก 5 คน เพราะจำนวนเยอะเกินไป) 2.ครูประจำชั้นทำการคัดเลือกตัวแทนนักเรียนของแต่ละชั้น 3.ทำการประชุมตัวแทนนักเรียน ทำความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างแกนนำเครือข่าย อย.น้อยสอนน้อง 4.ตัวแทนแกนนำร่วมกันวางแผนการดำเนินงานที่จะทำ และทำความเข้าใจร่วมกัน แล้วให้ตัวแทนในแต่ละห้องเรียนเป็นแกนนำในห้องเรียนของตัวเองในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ อย.น้อยในโรงเรียน ให้กับเพื่อนๆหรือน้อง ๆ ต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โรงเรียนมีกลุ่มแกนนำเครือข่าย อย.น้อยในโรงเรียน ทำให้นักเรียนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ อย.น้อยได้ง่ายมากขึ้น และยังมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

 

45 0

2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

วันที่ 24 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.แกนนำเครือข่ายพี่ๆชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ออกมาพูดเกี่ยวกับ อย.น้อย หน้าเสาธงในตอนเช้าที่ทำกิจกรรมหน้าเสาธงอย่างน้อยเดือนละครั้ง 2.จัดเสียงตามสายเกี่ยวกับ อย.น้อย ในทุกวันศุกร์ 3.จัดบอร์ดให้ความรู้เกี่ยวกับ อย.น้อย (เปลี่ยนจากเดิมเป็น จัดบอร์ดนิทรรศการ) 4.จัดทำไวนิลให้ความรู้ในการเดินรณรงค์ ขนาด 2*1.5 เมตร จำนวน 2 ป้าย ราคา 900 บาท 5.เดินรณรงค์ตามหมู่บ้าน โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มปากบางกับกลุ่มพระพุทธ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีบอร์ดให้ความรู้เกี่ยวกับ อย.น้อย และการเดินรณรงค์ในหมู่บ้าน ทำให้นักเรียนได้รับความรู้และเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ อย.น้อย สะดวกมากขึ้น รวมทั้งยังสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนในการเข้าถึงข้อมูลร่วมกัน นักเรียนสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับชุมชนของตนเองได้

 

334 0

3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 28 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการ อย.น้อยในโรงเรียน โรงเรียนบ้านพระพุทธ 2.จัดทำหนังสือขอความอนุเคราะห์วิทยากรจากโรงพยาบาลเทพา 3.จัดทำไวนิลงานอบรม ขนาด 1*3 เมตร ราคา 450 บาท 4.จัดทำอาหารว่างและเครื่องดื่มตามจำนวนผู้เข้าอบรม จำนวน 334 คน จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 25 บาท/คน/มื้อ เป็นเงิน 8,350 บาท 5.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยและคุ้มค่า โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลเทพา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนได้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยและคุ้มค่า ทำให้นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างปลอดภัยและคุ้มค่ามากขึ้น

 

334 0

4. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ

วันที่ 28 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ทำหนังสือขอความอนุเคราะห์วิทยากรจากโรงพยาบาลเทพา สาธิตการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร และการตรวจสอบเวชภัณฑ์ 2.สาธิตการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร และการตรวจสอบเวชภัณฑ์ โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลเทพา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารเบื้องต้น และรู้ค่าของสารปนเปื้อนที่ตรวจในอาหารว่าอยู่ในระดับใด ปลอดภัยหรือไม่ การเก็บเวชภัณฑ์ได้เป็นหมวดหมู่ ยาทุกประเภทมี อย.ชัดเจน ทำให้นักเรียนรู้จักการตรวจสารปนเปื้อนเบื้องต้นและการเก็บเวชภัณฑ์ได้อย่างถูกต้องมากขึ้น

 

334 0

5. กิจกรรมสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน

วันที่ 28 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำหนังสือขอความอนุเคราะห์วิทยากรจากโรงพยาบาลเทพา มาอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการจำหน่ายสินค้าในโรงเรียน 2.จัดทำอาหารว่างและเครื่องดื่มตามจำนวนผู้เข้าอบรม จำนวน 6 คน จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 25 บาท/คน/มื้อ เป็นเงิน 150 บาท
3.จัดอบรมผู้ประกอบการจำหน่ายสินค้าในโรงเรียน
4.(ตรวจสุขภาพผู้ประกอบการจำหน่ายสินค้าในโรงเรียน) ***ไม่ได้ดำเนินการ เพราะต้องใช้งบประมาณที่สูง ทางโครงการไม่มีงบประมาณในส่วนนี้ 5.จัดซื้อถังขยะแยกประเภท 4 ใบ/1 ชุด ราคา 3,200 บาท 6.นักเรียนทิ้งขยะ โดยการแยกประเภทของขยะให้ถูกประเภท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ประกอบการจำหน่ายสินค้าในโรงเรียนทุกคนได้รับความรู้ความเข้าใจและรู้จักหลักการจำหน่ายสินค้าที่ถูกหลัก ทำให้ผู้ประกอบการจำหน่ายสินค้าในโรงเรียนจำหน่ายสินค้าที่ถูกหลักมากขึ้น 2.นักเรียนสามารถแยกประเภทของขยะได้ถูกต้อง ทำให้นักเรียนมีพฤติกรรมการทิ้งขยะแยกประเภทของขยะได้ถูกประเภทมากขึ้น

 

340 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอย่างเหมาะสมและปลอดภัย (ขนาด 30.00)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอย่างเหมาะสมและปลอดภัยเพิ่มขึ้น
30.00 60.00 80.00

นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมนำไปปรับพฤติกรรมของตนเอง และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ สังเกตจากการร่วมตอบคำถามในขณะร่วมกิจกรรมกับวิทยากร

2 เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนที่มีพฤติกรรมแยกแยะขยะถูกต้อง (ขนาด 30.00)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีพฤติกรรมแยกแยะขยะถูกต้องเพิ่มขึ้น
30.00 60.00 80.00

นักเรียนมีพฤติกรรมในการแยกแยะประเภทของขยะได้ถูกต้องมากขึ้นกว่าเดิม สังเกตจากการทิ้งขยะลงถัง สามารถแยกประเภทก่อนทิ้งได้

3 เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดีเหมาะสมตามวัย (ขนาด 50.00)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดีเหมาะสมตามวัยเพิ่มขึ้น
50.00 90.00 95.00

นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น สังเกตจากการบันทึกการวัดส่วนสูงและชั่งน้ำหนักประจำเดือน น้ำเรียนมีส่วนสูงและน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วนเป็นส่วนใหญ่

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 334 334
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - มัธยมศึกษาปีที่ 3 334 334

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอย่างเหมาะสมและปลอดภัย (ขนาด 30.00) (2) เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนที่มีพฤติกรรมแยกแยะขยะถูกต้อง (ขนาด 30.00) (3) เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดีเหมาะสมตามวัย (ขนาด 50.00)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ นักเรียนได้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยและคุ้มค่า (2) กิจกรรมสร้างเครือข่าย / อย. น้อยสอนน้อง ทำให้โรงเรียนและนักเรียนมีเครือข่าย อย. น้อยในโรงเรียน เป็นตัวแทนแกนนำในการทำกิจกรรมเกี่ยวกับ อย.น้อย (3) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ นักเรียนได้มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ อย.น้อย ได้ง่ายยิ่งขึ้น (4) กิจกรรมสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน แม่ครัวและผู้ประกอบการจำหน่ายสินค้าในโรงเรียนรู้จักหลักการประกอบอาหารและจำหน่ายสินค้าที่ถูกหลักอนามัย นักเรียนสามารถแยกประเภทของขยะได้ถูกประเภท มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถังขยะ (5) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ นักเรียนได้รู้จักการอ่านค่าของสารปนเปื้อนที่ตวรจในอาหารว่าปลอดภัยหรือไม่ รู้จักการอ่านฉลากของยาและ อย ในอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) การดำเนินงานโครงการบางกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอบรมเป็นไปด้วยความล่าช้า เพราะสถานการณ์โควิดระบาทในพื้นที่ (2) ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองนักเรียน หรือ คนในชุมชนมีส่วนร่วมในโครงการด้วย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

การดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการอบรมเกิดความล่าช้า ทำให้การดำเนินกิจกรรมไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้

เนื่องจากมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างหนักในพื้นที่ โรงเรียนต้องปิดการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ 0N-SITE

ไม่มี


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ อย.น้อยในโรงเรียน โรงเรียนบ้านพระพุทธ

รหัสโครงการ 64-L8287-2-02 ระยะเวลาโครงการ 3 พฤษภาคม 2564 - 31 ธันวาคม 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ครู บุคลากร แม่บ้าน และผู้ประกอบการได้รับความรู้เกี่ยวกับ อย.น้อย ไม่ว่าจะเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยและคุ้มค่า รู้จักวิธีการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร หลักการประกอบอาหารที่ถูกหลักอนามัย รู้จักการแยกประเภทของขยะ ซึ่งเป็นความรู้ใหม่ที่ไม่ว่า ครู บุคลากร แม่ครัว ผู้ประกอบการและนักเรียนเองยังไม่เคยรู้มาก่อน

รูปเล่มรายงานผลโครงการ อย.น้อยในโรงเรียน โรงเรียนบ้านพระพุทธ

เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

โรงเรียนบ้านพระพุทธมีกลุ่มเครือข่าย อย.น้อยในโรงเรียน จากการคัดเลือกตัวแทนนักเรียนมาทำกิจกรรมเกี่ยวกับ อย.น้อย ร่วมกัน

รูปเล่มรายงานผลโครงการ อย.น้อยในโรงเรียน โรงเรียนบ้านพระพุทธ

ขยายเครือข่ายไปสู่ครอบครัว หรือ ชุมชน เพื่อให้โรงเรียนและคนในชุมชนได้มีกิจกรรมร่วมกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

นักเรียนเกิดการสังเกตและเลือกซื้ออาหารที่ปลอดจากสารปนเปื้อนในอาหาร และเลือกซื้อยาที่มีฉลากชัดเจน เพื่อประโยชน์สูงสุดและถูกสุขอนามัย

รูปเล่มรายงานผลโครงการ อย.น้อยในโรงเรียน โรงเรียนบ้านพระพุทธ

เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองนักเรียนได้มีส่วนร่วม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

แม่ครัวและผู้ประกอบการจำหน่ายสินค้าในโรงเรียนรู้จักหลักการประกอบอาหารที่ถูกสุขอนามัย นักเรียนสามารถบริโภคอาหารได้อย่างปลอดภัยและเต็มไปด้วยคุณประโยชน์

รูปเล่มรายงานผลโครงการ อย.น้อยในโรงเรียน โรงเรียนบ้านพระพุทธ

ส่งเสริมให้นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีในชีวิตประจำวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

นักเรียนสามารถแยกแยะขยะได้ถูกประเภท มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถังขยะ

รูปเล่มรายงานผลโครงการ อย.น้อยในโรงเรียน โรงเรียนบ้านพระพุทธ

มีการจัดวางถังขยะแยกประเภทตามที่ต่าง ๆ บริเวณโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

โครงการ อย.น้อยในโรงเรียน โรงเรียนบ้านพระพุทธ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L8287-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรีซัน สะมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด