กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดหัวใจ ”

ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าข้าม

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดหัวใจ

ที่อยู่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3368-1(12) เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดหัวใจ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดหัวใจ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดหัวใจ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3368-1(12) ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน เป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs ) เป็น กลุ่มโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค ไม่สามารถติดต่อได้ผ่านการสัมผัส คลุกคลี หรือ ติดต่อ ผ่านตัวนำโรค (พาหะ) หรือสารคัดหลั่งต่างๆ หากแต่เกิดจากปัจจัยต่างๆ ภายในร่างกาย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจากวิธีการใช้ชีวิต ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงอย่าง เหล้า บุหรี่ ขาดการออกกำลังกาย อาหารหวานมันเค็มจัด และมีความเครียด ปี พ.ศ. 2558 และ 255๙ ผลการตรวจคัดกรอง โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชาชนที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไปในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าข้ามพบเป็นกลุ่มเสี่ยงสูงที่มีโอกาสเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 13(ร้อยละ 3.79)และ 22 ราย (ร้อยละ 6.38) ตามลำดับ และพบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงสูงมีโอกาสเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 2 ราย (ร้อยละ 0.52) และ 7 ราย(ร้อยละ 1.76)ตามลำดับ และเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 76 ราย (ร้อยละ 34.99) และ 117 ราย(ร้อยละ 33.91) ตามลำดับ และเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 46 ราย (ร้อยละ 12.04) และ 95 ราย (ร้อยละ 20.69) ตามลำดับ ปี 2558 – 2559ผู้ป่วยรายใหม่ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าข้าม โรคความดันโลหิตสูงจำนวน 2 และ 2 ราย ตามลำดับ เป็นผู้ป่วยรายใหม่โรคเบาหวาน จำนวน 3 และ 2 ราย ตามลำดับ
จากการสำรวจโดยใช้แบบสัมภาษณ์ข้อมูลพฤติกรรม ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าข้าม ปี 2559พบว่า พฤติกรรมบริโภคผักและผลไม้สด มากกว่าครึ่งกิโลกรัมหรือ5 กำมือต่อวัน ในระดับ ทุกวัน ร้อยละ 8.20 และในระดับ ไม่เคยปฏิบัติ ร้อยละ 7.50 ,พฤติกรรมบริโภคอาหารไขมันสูง ในระดับทุกวัน ร้อยละ 12.00 และในระดับ ไม่เคยปฏิบัติ ร้อยละ 7.14,พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีน้ำตาลสูง ในระดับทุกวัน ร้อยละ 33.76 และในระดับ ไม่เคยปฏิบัติ ร้อยละ 6.28 , พฤติกรรมการกินเค็มเป็นประจำ เช่น ปลาเค็ม เนื้อเค็มของหมักดอง ร้อยละ 71.30 และพฤติกรรมการปรุงรสด้วยการเติมน้ำปลาซีอิ้วซอสร้อยละ 55.25 และพฤติกรรมการออกกำลังกายทำเป็นประจำ ร้อยละ 13.25 และ ไม่เคยออกกำลังกาย ร้อยละ 17.00 จากข้อมูลและสถิติข้างต้น กลุ่มเสี่ยงมีโอกาสเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน มีแนวโน้มที่สูงขึ้นทุกปีซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลการสำรวจพฤติกรรม การบริโภคหวาน มัน เค็ม ที่ค่าสถิติสูง และมีพฤติกรรมการบริโภคผักและผลไม้มากกว่า ครึ่งกิโลกรัมหรือ 5 กำมือ ทุกวัน มีค่าสถิติต่ำ และ พฤติกรรมการออกกำลังกาย ทุกวัน มีค่าสถิติ ต่ำเช่นกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานนั้นเป็นโรคที่สามารถ 2./ป้องกันได้...... -2- ป้องกันได้ เพราะ สาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงหลักนั้น เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงของประชาชนนั่นเอง ซึ่งหากประชาชนสามารถลด หรือ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเหล่านี้ได้ก็จะเป็นการลดโอกาสเสี่ยงในการเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าข้ามได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ ปี2560เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูง ได้นำทักษะ ความรู้การควบคุม ป้องกัน โรคและลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. กลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและการดูแลตนเอง 2. กลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น 3. กลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสมจนสามารถควบคุมความดันโลหิตและหรือภาวะน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติหรือลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    กลุ่มเสี่ยงได้นำความรู้ ทักษะ มาใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับวิถีชีวิต อย่างสม่ำเสมอโดยมีอสม.ภาคีเครือข่ายในชุมชน มีส่วนร่วมการสร้างกระแสและกระตุ้น สร้างปัจจัยเอื้อทางสิ่งแวดล้อมแก่กลุ่มเป้าหมาย จนสามารถป้องกันและควบคุมการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในรายใหม่ได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. 1.ตรวจวัดความดันโลหิต และน้ำตาลในเลือดก่อนเริ่มโครงการ 2.กิจกรรมการให้ความรู้เรื่องโรคทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกายและความรู้เรื่องพืชสมุนไพรช่วยลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 3.ผู้เข้าร่วมโครงการตรวจวัดความดันโลหิตและน้ำ

    วันที่ 18 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเสี่ยงได้นำความรู้ ทักษะ มาใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับวิถีชีวิต อย่างสม่ำเสมอโดยมี  อสม.  ภาคีเครือข่ายในชุมชน มีส่วนร่วมการสร้างกระแสและกระตุ้น สร้างปัจจัยเอื้อทางสิ่งแวดล้อมแก่กลุ่มเป้าหมาย จนสามารถป้องกันและควบคุมการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในรายใหม่ได้

     

    90 90

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กลุ่มเสี่ยงได้นำความรู้ ทักษะ มาใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตอย่างสม่ำเสมอ โดยมี  อสม.  ภาคีเครือข่ายในชุมชน มีส่วนร่วมการสร้างกระแสและกระตุ้น สร้างปัจจัยเอื้อทางสิ่งแวดล้อมแก่กลุ่มเป้าหมาย จนสามารถป้องกันและควบคุมการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในรายใหม่ได้

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. กลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและการดูแลตนเอง 2. กลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น 3. กลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสมจนสามารถควบคุมความดันโลหิตและหรือภาวะน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติหรือลดลง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงได้นำความรู้ ทักษะ มาใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับวิถีชีวิต อย่างสม่ำเสมอโดยมีอสม.ภาคีเครือข่ายในชุมชน มีส่วนร่วมการสร้างกระแสและกระตุ้น สร้างปัจจัยเอื้อทางสิ่งแวดล้อมแก่กลุ่มเป้าหมาย จนสามารถป้องกันและควบคุมการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในรายใหม่ได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.  กลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและการดูแลตนเอง 2. กลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น 3. กลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสมจนสามารถควบคุมความดันโลหิตและหรือภาวะน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติหรือลดลง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดหัวใจ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L3368-1(12)

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าข้าม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด