โครงการส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหารและคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหารและคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2564 ”
ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางศริณยา อินแก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหารและคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2564
ที่อยู่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหารและคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหารและคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหารและคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,369.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 5018 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพในปัจจุบันตำบลพนมวังก์มีร้านอาหารและแผงลอย จำหน่ายอาหารบริเวณเส้นทางสองข้างถนน รวมถึงตลาดประเภท 2ร้านชำ ร้านขายอาหารสด เป็นจำนวนมาก เพื่อลดความเสี่ยงอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารและน้ำที่ไม่สะอาด อาหารที่มีสารปนเปื้อน โดยการรณรงค์ส่งเสริมให้ความรู้ให้สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่าย ปรับปรุงให้ได้มาตรฐาน ในการจัดการสุขาภิบาลอาหาร โดยเฉพาะเรื่องการจัดการคัดแยกขยะต้นทาง การใช้ขยะพลาสติก ภาวะมลพิษจากกลิ่นเหม็นฝุ่นควันละอองน้ำเสียตลอดจนการสุขาภิบาลอาหารน้ำดื่มน้ำใช้ ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชน ซึ่งสอดคล้องกับปัญหาของ พชอ.อำเภอควนขนุนในการขับเคลื่อน การจัดการขยะอาหารปลอดภัย และลดการเจ็บป่วยที่เกิดจากความบกพร่องจากการสุขาภิบาลอาหารและการคุ้มครองผู้บริโภค ในตำบลพนมวังก์ได้แก่ อุจจาระร่วงมะเร็งต่างๆและโรคอาหารเป็นพิษ
จากข้อมูลปี2563ตำบลพนมวังก์พบอัตราป่วยโรค อุจจาระร่วง246..35 ต่อแสนประชากร และอัตราตายด้วยมะเร็ง ร้อยละ 21.05 เป็นสาเหตุการตายอันดับสองและมีสถานประกอบการร้านอาหาร ที่มีสถานที่ปรุง จำนวน 6 ร้าน และแผงลอยที่วางจำหน่ายอาหารปรุงเสร็จ จำนวน6แผงตลาดประเภท2จำนวน 1 ตลาด ร้านขายของชำจำนวน 49 ร้านร้านขายอาหารสด จำนวน 8 ร้าน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งผู้ประกอบการดังกล่าวยังไม่ขึ้นทะเบียน ขออนุญาตกับส่วนราชการท้องถิ่น (ในการใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535) ซึ่ง เป็นเครื่องมือสำคัญในการควบคุมกำกับ และดำเนินงาน ในการปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารอาหารปลอดภัยร้านชำคุณภาพตลาดน่าซื้อ ทำให้ไม่ผ่านการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดในแต่ละประเภท
ในการนี้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลพนมวังก์จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหาร และการคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2564 โดยเน้นการสร้างการมีส่วนร่วมของพชต.ตำบลพนมวังก์ ในการขับเคลื่อน อาศัยความร่วมมือของประชาชนอสม.ผู้นำชุมชนวัดโรงเรียนสถานประกอบการร้านอาหารแผงลอย ตลาดร้านขายอาหารสด ในการปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารอาหารปลอดภัยร้านชำคุณภาพตลาดน่าซื้อ ให้สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่าย ปรับปรุงให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์แต่ละประเภท ลดการป่วยด้วยโรค อุจจาระร่วงมะเร็งต่างๆและโรคอาหารเป็นพิษและส่งเสริมการท่องเที่ยว สนับสนุนเศรษฐกิจของพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเก็บข้อมูลโรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสด ในหมู่บ้าน
- เพื่อให้ความรู้แก่แกนนำ อสม. ผู้นำชุมชน โรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอบ ร้านชำ ร้านขายอาหารสด และทำข้อตกลงร่วมกันในการรณรงค์ส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหาร
- เพื่อพัฒนาโรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสด ให้ผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ 90
- เพื่อให้สถานประกอบการได้รับป้ายมาตรฐานท้องถิ่น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมแกนนำ อสม.ในการจัดเก็บขัอมูล โรงเรียน วัด ตลาดร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสดในหมู่บ้านตามแบบฟอร์มที่กำหนด
- ให้ความรู้ความเข้าใจ แกนนำ อสม. ผู้นำชุมชน โรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสด ทำข้อตกลงร่วมกันในการรณรงค์ส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหาร และการคุ้มครองผู้บริโภค ตามเกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่น
- ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหารเก็บตัวอย่างอาหารตรวจสารปนเปื้อนตรวจร้านช
- มอบป้ายมาตรฐานท้องถิ่น โดยที่มาตรฐานมีอายุ 1 ปี (ต่ออายุ ทุก1ปี)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
5,018
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่าย ปรับปรุงให้ได้มาตรฐาน ในการจัดการสุขาภิบาลอาหาร โดยเฉพาะเรื่องการจัดการคัดแยกขยะต้นทาง การใช้ขยะพลาสติก ภาวการใช้ขยะพลาสติก ภาวะมลพิษจากกลิ่นเหม็นฝุ่นควันละอองน้ำเสียตลอดจนการสุขาภิบาลอาหารน้ำดื่มน้ำใช้ ผ่านเกณฑ์ประเมินร้อยละ 90
- ทุกภาคส่วนร่วมทำกิจกรรมอย่างจริงจัง สร้างความต่อเนื่องในการจัดการสิ่งแวดล้อมให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ
- สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่าย ปรับปรุงให้ได้มาตรฐาน ในการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ได้รับป้ายมาตรฐานท้องถิ่น อาหารปลอดภัย ร้านชำคุณภาพ ตลาดน่าซื้อ โดยที่มาตรฐานมีอายุ 1 ปีร้อยละ 90
- ผู้ประกอบการร้านอาหารมีความรู้ และการปฏิบัติตามมาตรฐานจากการประเมินความเสี่ยงในการเกิดโรค อุจจาระร่วงไข้เลือดออก และโรคอาหารเป็นพิษ ของผู้ประกอบการร้อยละ 801.
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเก็บข้อมูลโรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสด ในหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : ตำบลพนมวังก์ มีข้อมูลโรงเรียน วัด ตลาดร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสดที่เป็นปัจจุบันในการดำเนินงาน1ชุด
1.00
1.00
2
เพื่อให้ความรู้แก่แกนนำ อสม. ผู้นำชุมชน โรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอบ ร้านชำ ร้านขายอาหารสด และทำข้อตกลงร่วมกันในการรณรงค์ส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่าย ทำข้อตกลงตามมาตรฐานท้องถิ่น ร้อยละ 100
80.00
100.00
3
เพื่อพัฒนาโรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสด ให้ผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ 90
ตัวชี้วัด : โรงเรียน วัด ตลาดร้านอาหาร
และแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสดผ่านเกณฑ์
ร้อยละ 90
80.00
90.00
4
เพื่อให้สถานประกอบการได้รับป้ายมาตรฐานท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : สถานประกอบการ ได้รับป้ายมาตรฐานท้องถิ่น
ร้อยละ90
80.00
90.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
5018
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
5,018
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเก็บข้อมูลโรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสด ในหมู่บ้าน (2) เพื่อให้ความรู้แก่แกนนำ อสม. ผู้นำชุมชน โรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอบ ร้านชำ ร้านขายอาหารสด และทำข้อตกลงร่วมกันในการรณรงค์ส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหาร (3) เพื่อพัฒนาโรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสด ให้ผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ 90 (4) เพื่อให้สถานประกอบการได้รับป้ายมาตรฐานท้องถิ่น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมแกนนำ อสม.ในการจัดเก็บขัอมูล โรงเรียน วัด ตลาดร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสดในหมู่บ้านตามแบบฟอร์มที่กำหนด (2) ให้ความรู้ความเข้าใจ แกนนำ อสม. ผู้นำชุมชน โรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสด ทำข้อตกลงร่วมกันในการรณรงค์ส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหาร และการคุ้มครองผู้บริโภค ตามเกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่น (3) ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหารเก็บตัวอย่างอาหารตรวจสารปนเปื้อนตรวจร้านช (4) มอบป้ายมาตรฐานท้องถิ่น โดยที่มาตรฐานมีอายุ 1 ปี (ต่ออายุ ทุก1ปี)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหารและคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2564 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางศริณยา อินแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหารและคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2564 ”
ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางศริณยา อินแก้ว
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหารและคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหารและคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหารและคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,369.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 5018 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพในปัจจุบันตำบลพนมวังก์มีร้านอาหารและแผงลอย จำหน่ายอาหารบริเวณเส้นทางสองข้างถนน รวมถึงตลาดประเภท 2ร้านชำ ร้านขายอาหารสด เป็นจำนวนมาก เพื่อลดความเสี่ยงอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารและน้ำที่ไม่สะอาด อาหารที่มีสารปนเปื้อน โดยการรณรงค์ส่งเสริมให้ความรู้ให้สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่าย ปรับปรุงให้ได้มาตรฐาน ในการจัดการสุขาภิบาลอาหาร โดยเฉพาะเรื่องการจัดการคัดแยกขยะต้นทาง การใช้ขยะพลาสติก ภาวะมลพิษจากกลิ่นเหม็นฝุ่นควันละอองน้ำเสียตลอดจนการสุขาภิบาลอาหารน้ำดื่มน้ำใช้ ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชน ซึ่งสอดคล้องกับปัญหาของ พชอ.อำเภอควนขนุนในการขับเคลื่อน การจัดการขยะอาหารปลอดภัย และลดการเจ็บป่วยที่เกิดจากความบกพร่องจากการสุขาภิบาลอาหารและการคุ้มครองผู้บริโภค ในตำบลพนมวังก์ได้แก่ อุจจาระร่วงมะเร็งต่างๆและโรคอาหารเป็นพิษ
จากข้อมูลปี2563ตำบลพนมวังก์พบอัตราป่วยโรค อุจจาระร่วง246..35 ต่อแสนประชากร และอัตราตายด้วยมะเร็ง ร้อยละ 21.05 เป็นสาเหตุการตายอันดับสองและมีสถานประกอบการร้านอาหาร ที่มีสถานที่ปรุง จำนวน 6 ร้าน และแผงลอยที่วางจำหน่ายอาหารปรุงเสร็จ จำนวน6แผงตลาดประเภท2จำนวน 1 ตลาด ร้านขายของชำจำนวน 49 ร้านร้านขายอาหารสด จำนวน 8 ร้าน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งผู้ประกอบการดังกล่าวยังไม่ขึ้นทะเบียน ขออนุญาตกับส่วนราชการท้องถิ่น (ในการใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535) ซึ่ง เป็นเครื่องมือสำคัญในการควบคุมกำกับ และดำเนินงาน ในการปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารอาหารปลอดภัยร้านชำคุณภาพตลาดน่าซื้อ ทำให้ไม่ผ่านการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดในแต่ละประเภท
ในการนี้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลพนมวังก์จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหาร และการคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2564 โดยเน้นการสร้างการมีส่วนร่วมของพชต.ตำบลพนมวังก์ ในการขับเคลื่อน อาศัยความร่วมมือของประชาชนอสม.ผู้นำชุมชนวัดโรงเรียนสถานประกอบการร้านอาหารแผงลอย ตลาดร้านขายอาหารสด ในการปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารอาหารปลอดภัยร้านชำคุณภาพตลาดน่าซื้อ ให้สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่าย ปรับปรุงให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์แต่ละประเภท ลดการป่วยด้วยโรค อุจจาระร่วงมะเร็งต่างๆและโรคอาหารเป็นพิษและส่งเสริมการท่องเที่ยว สนับสนุนเศรษฐกิจของพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเก็บข้อมูลโรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสด ในหมู่บ้าน
- เพื่อให้ความรู้แก่แกนนำ อสม. ผู้นำชุมชน โรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอบ ร้านชำ ร้านขายอาหารสด และทำข้อตกลงร่วมกันในการรณรงค์ส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหาร
- เพื่อพัฒนาโรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสด ให้ผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ 90
- เพื่อให้สถานประกอบการได้รับป้ายมาตรฐานท้องถิ่น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมแกนนำ อสม.ในการจัดเก็บขัอมูล โรงเรียน วัด ตลาดร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสดในหมู่บ้านตามแบบฟอร์มที่กำหนด
- ให้ความรู้ความเข้าใจ แกนนำ อสม. ผู้นำชุมชน โรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสด ทำข้อตกลงร่วมกันในการรณรงค์ส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหาร และการคุ้มครองผู้บริโภค ตามเกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่น
- ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหารเก็บตัวอย่างอาหารตรวจสารปนเปื้อนตรวจร้านช
- มอบป้ายมาตรฐานท้องถิ่น โดยที่มาตรฐานมีอายุ 1 ปี (ต่ออายุ ทุก1ปี)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 5,018 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่าย ปรับปรุงให้ได้มาตรฐาน ในการจัดการสุขาภิบาลอาหาร โดยเฉพาะเรื่องการจัดการคัดแยกขยะต้นทาง การใช้ขยะพลาสติก ภาวการใช้ขยะพลาสติก ภาวะมลพิษจากกลิ่นเหม็นฝุ่นควันละอองน้ำเสียตลอดจนการสุขาภิบาลอาหารน้ำดื่มน้ำใช้ ผ่านเกณฑ์ประเมินร้อยละ 90
- ทุกภาคส่วนร่วมทำกิจกรรมอย่างจริงจัง สร้างความต่อเนื่องในการจัดการสิ่งแวดล้อมให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ
- สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่าย ปรับปรุงให้ได้มาตรฐาน ในการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ได้รับป้ายมาตรฐานท้องถิ่น อาหารปลอดภัย ร้านชำคุณภาพ ตลาดน่าซื้อ โดยที่มาตรฐานมีอายุ 1 ปีร้อยละ 90
- ผู้ประกอบการร้านอาหารมีความรู้ และการปฏิบัติตามมาตรฐานจากการประเมินความเสี่ยงในการเกิดโรค อุจจาระร่วงไข้เลือดออก และโรคอาหารเป็นพิษ ของผู้ประกอบการร้อยละ 801.
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเก็บข้อมูลโรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสด ในหมู่บ้าน ตัวชี้วัด : ตำบลพนมวังก์ มีข้อมูลโรงเรียน วัด ตลาดร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสดที่เป็นปัจจุบันในการดำเนินงาน1ชุด |
1.00 | 1.00 |
|
|
2 | เพื่อให้ความรู้แก่แกนนำ อสม. ผู้นำชุมชน โรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอบ ร้านชำ ร้านขายอาหารสด และทำข้อตกลงร่วมกันในการรณรงค์ส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหาร ตัวชี้วัด : 1. สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่าย ทำข้อตกลงตามมาตรฐานท้องถิ่น ร้อยละ 100 |
80.00 | 100.00 |
|
|
3 | เพื่อพัฒนาโรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสด ให้ผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ 90 ตัวชี้วัด : โรงเรียน วัด ตลาดร้านอาหาร และแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสดผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 90 |
80.00 | 90.00 |
|
|
4 | เพื่อให้สถานประกอบการได้รับป้ายมาตรฐานท้องถิ่น ตัวชี้วัด : สถานประกอบการ ได้รับป้ายมาตรฐานท้องถิ่น ร้อยละ90 |
80.00 | 90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 5018 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 5,018 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเก็บข้อมูลโรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสด ในหมู่บ้าน (2) เพื่อให้ความรู้แก่แกนนำ อสม. ผู้นำชุมชน โรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอบ ร้านชำ ร้านขายอาหารสด และทำข้อตกลงร่วมกันในการรณรงค์ส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหาร (3) เพื่อพัฒนาโรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสด ให้ผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ 90 (4) เพื่อให้สถานประกอบการได้รับป้ายมาตรฐานท้องถิ่น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมแกนนำ อสม.ในการจัดเก็บขัอมูล โรงเรียน วัด ตลาดร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสดในหมู่บ้านตามแบบฟอร์มที่กำหนด (2) ให้ความรู้ความเข้าใจ แกนนำ อสม. ผู้นำชุมชน โรงเรียน วัด ตลาด ร้านอาหารและแผงลอย ร้านชำ ร้านขายอาหารสด ทำข้อตกลงร่วมกันในการรณรงค์ส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหาร และการคุ้มครองผู้บริโภค ตามเกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่น (3) ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหารเก็บตัวอย่างอาหารตรวจสารปนเปื้อนตรวจร้านช (4) มอบป้ายมาตรฐานท้องถิ่น โดยที่มาตรฐานมีอายุ 1 ปี (ต่ออายุ ทุก1ปี)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการสุขาภิบาลอาหารและคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2564 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางศริณยา อินแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......