กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองแรต


“ โครงการคัดกรองรู้เร็ว ปรับตัวทัน ความดันเบาหวาน ได้รับการดูแล ตำบลหนองแรต ปี 2564 ”

ตำบลหนองแรต อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายกอดะ เจะมะ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองรู้เร็ว ปรับตัวทัน ความดันเบาหวาน ได้รับการดูแล ตำบลหนองแรต ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลหนองแรต อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3050-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองรู้เร็ว ปรับตัวทัน ความดันเบาหวาน ได้รับการดูแล ตำบลหนองแรต ปี 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองแรต อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองแรต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองรู้เร็ว ปรับตัวทัน ความดันเบาหวาน ได้รับการดูแล ตำบลหนองแรต ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองรู้เร็ว ปรับตัวทัน ความดันเบาหวาน ได้รับการดูแล ตำบลหนองแรต ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองแรต อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3050-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 61,410.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองแรต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปี 2561-2563 อำเภอยะหริ่ง มีการคัดกรองเบาหวานในกลุ่มประชากรทั่วไปอายุ 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ 96.20 , 96.18, และ 94.48 ตามลำดับ พบกลุ่มเสี่ยงมีแนวโน้มสูงขึ้น ร้อยละ 15.20 , 12.22 และ 16.44สำหรับผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจน้ำตาล HbA1c ร้อยละ 24.32 , 39.69 และ 44.83 ควบคุมน้ำตาลได้ดี ร้อยละ 4.34 , 6.76 และ 2.71 (เกณฑ์ร้อยละ 40)ในส่วนของการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงประชากรในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป คัดกรองได้ร้อยละ 96.78 , 96.17 และ 95.15 ตามลำดับ พบกลุ่มเสี่ยงมีแนวโน้มลดลง คิดเป็นร้อยละ 28.38ร้อยละ 21.68ร้อยละ 6.65 กลุ่มสงสัยป่วยมีแนวโน้มสูงขึ้น ร้อยละ 4.85 , 3.68 และ 4.02ความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันฯ 2 ครั้งขึ้นไป ร้อยละ 40.78 , 66.46 และ 43.15 สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดีร้อยละ 14.41, 41.18 และ 23.29 (เกณฑ์ร้อยละ 50)ป จากสถานการณ์ข้างต้น จึงเห็นได้ว่า แนวโน้มของประชากรที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง และสงสัยป่วยมีจำนวนเพิ่มขึ้น รวมถึงการควบคุมรักษาโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานก็ยังเป็นปัญหาหลักๆที่ยังไม่สามารถควบคุมได้ บวกกับขนบธรรมเนียมประเพณี การรับประทานอาหารของประชาชนในอำเภอยะหริ่ง ซึ่งค่อนข้างเป็นชุมชนเมือง ประชาชนส่วนใหญ่เป็นกลุ่มอายุวัยทำงาน มักซื้ออาหารนอกบ้านรับประทาน รวมถึงซื้อฝากผู้สูงอายุที่อยู่ในความดูแลด้วยบวกกับพื้นที่ของอำเภอยะหริ่งติดทะเล การประกอบอาชีพก็เป็นชาวประมง และการทำอาหารแห้ง ซึ่งรสชาติอาหารเน้นหนักไปในเรื่องของความเค็ม ดังนั้น ตำบล...หนองแรต....อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานีมีจำนวนประชากรที่มีอายุ35ปีขึ้นไปที่ไม่ใช่ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ทั้งหมด...1,195.......คนดังนั้น ชมรมสร้างเสริมสุขภาพตำบล...หนองแรต....ร่วมกับอาสาสมัครประจำหมู่บ้านตำบล..หนองแรต.....อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จึงต้องดำเนินงานเน้นนโยบายเชิงรุก เร่งการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองรู้ตัวเร็ว ปรับตัวทัน ความดันเบาหวานได้รับการดูแล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
  4. เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงโครงการโดย อสม. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำรพ.สต. และพชต.หนองแรต
  2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. ติดตามกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยง
  4. คัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 1,050
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1 ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงพร้อมรับทราบภาวะสุขภาพของตนเองว่าอยู่ในกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มสงสัยป่วยรายใหม่ 2ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเหมาะสมและยั่งยืนตามบริบทลดโอกาสการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 3 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มสงสัยป่วยรายใหม่ได้รับการส่งต่อ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
25.73 95.00 0.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
24.02 95.00

 

3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง
86.09 90.00

 

4 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง
16.39 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1100 954
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 1,050 954
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) (4) เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น  เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการโดย อสม. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำรพ.สต. และพชต.หนองแรต (2) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง (3) ติดตามกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยง (4) คัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองรู้เร็ว ปรับตัวทัน ความดันเบาหวาน ได้รับการดูแล ตำบลหนองแรต ปี 2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3050-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกอดะ เจะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด