กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา


“ โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต ปลูกจิตสำนึก“รักษ์สุขภาพ”ในเยาวชนตำบลสะดาวา ”

ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮัยฟา จาหลง (นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ)

ชื่อโครงการ โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต ปลูกจิตสำนึก“รักษ์สุขภาพ”ในเยาวชนตำบลสะดาวา

ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 เมษายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต ปลูกจิตสำนึก“รักษ์สุขภาพ”ในเยาวชนตำบลสะดาวา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต ปลูกจิตสำนึก“รักษ์สุขภาพ”ในเยาวชนตำบลสะดาวา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต ปลูกจิตสำนึก“รักษ์สุขภาพ”ในเยาวชนตำบลสะดาวา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 เมษายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 85,430.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการสื่อสาร ก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อวิถีชีวิตของเยาวชน ทั้งนี้เกิดจากการเลียนแบบพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ขาดการคิดไตร่ตรอง ซึ่งการดำเนินชีวิตดังกล่าว นำไปสู่ปัญหาทั้งตัวเด็ก ครอบครัวและสังคม อาทิเช่น ปัญหายาเสพติด การตั้งครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ และปัญหาอื่นๆที่ตามมา
สถานการณ์การลักลอบนำเข้ายาเสพติดรุนแรงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี ๒๕๖๐ เป็นต้นมา ข้อมูลสถิติการจับกุม คดียาเสพติดของสำนักงานตำรวจแห่งชาติในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ สามารถจับกุมคดียาเสพติดทั้งหมด ๓๕๙,๖๘๘ คดี ในส่วนของพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างส่วนใหญ่เป็นการลักลอบนำเข้าใบกระท่อม จากประเทศมาเลเซีย เป็นการลักลอบนำเข้าผ่านช่องทางด่านศุลกากรและช่องทางตามธรรมชาติ ตามแนวชายแดนไทย - มาเลเซีย ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ มีการจับกุมคดีพืชกระท่อมและตรวจยึดของกลางในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างได้มากถึง ๖๗.๘๕ ตัน (แผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดพ.ศ.2563 ป.ป.ส.) จากสถานการณ์ดังกล่าวจะเห็นได้ว่าปัญหายาเสพติดในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ทวีความรุนแรงมากขึ้น บวกกับปัญหาเศรษฐกิจ การว่างงานและการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา จึงทำให้เยาวชนที่ว่างงานเกิดความเครียดและแก้ปัญหาโดยการพึ่งพายาเสพติดอย่างต่อเนื่อง
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลสะดาวา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพ จึงได้จัดทำโครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต ปลูกจิตสำนึก“รักษ์สุขภาพ”ในเยาวชนตำบลสะดาวา ขึ้น เพื่อให้เยาวชนมีภูมิคุ้มกันที่ดี มีทักษะในการดำรงชีวิตในสังคมยุคปัจจุบัน ส่งเสริมให้เยาวชนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในการพัฒนาตนเอง เป็นบุคคลที่มีคุณค่าในตนเอง รู้จักคิดแก้ปัญหาด้วยตนเอง ไม่ตกเป็นทาสยาเสพติด สามารถเป็นแบบอย่างให้กับเยาวชนรุ่นหลังได้ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ ครอบคลุมทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค ให้แก่เยาวชนในพื้นที่
  2. เพื่อสร้างกลุ่มแกนนำเยาวชน “รักษ์สุขภาพ” ในการส่งเสริม ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ รวมถึงร่วมกันแก้ไขปัญหาการติดยาเสพติดของเยาวชนในพื้นที่
  3. เพื่อให้เยาวชนสามารถพัฒนาทักษะในด้านต่างๆ รวมถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งด้านความคิด การปฏิบัติตน และสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจ ไม่ตกเป็นเครื่องมือของอบายมุข
  4. เพื่อให้เยาวชนมีสุขภาวะที่ดี เกิดความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งส่งผลให้การดำรงชีวิตในสังคมเป็นไปอย่างปกติสุขด้วยความสมัครใจ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  2. แบ่งกลุ่มการเรียนรู้(Work Shop) เรื่อง แนวทางการแก้ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นจริงในสังคมยุคปัจจุบัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เยาวชนมีองค์ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ ครอบคลุมทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค ให้แก่เยาวชนในพื้นที่
  2. มีกลุ่มแกนนำเยาวชน “รักษ์สุขภาพ” ในการส่งเสริม ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ รวมถึงร่วมกันแก้ไขปัญหาการติดยาเสพติดของเยาวชนในพื้นที่
  3. เยาวชนมีทักษะในการใช้ชีวิตในสังคมและมีภูมิคุ้มกันด้านจิตใจที่เข้มแข็ง ไม่ตกเป็นเครื่องมือของอบายมุข
  4. เยาวชนมีสุขภาวะที่ดี เกิดความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ในพื้นที่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 1 เมษายน 2564 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การอบรมให้ความรู้เชิงวิชาการ ในหัวข้อเรื่อง อิทธิพลของสื่อที่มีผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพเยาวชนยุคใหม่ ,ปัจจัยเสี่ยงในสังคมปัจจุบันที่ส่งผลให้เยาวชนในพื้นที่ติดยาเสพติดมากขึ้น ,ศาสนากับการใช้ชีวิตในยุคปัจจุบัน (โลกาภิวัฒน์)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เมื่อเสร็จสิ้นโครงการ ได้มีการจัดตั้งกลุ่มแกนนำเยาวชนตำบลสะดาวาเพื่อการขับเคลื่อนงานด้านการดูเเลสุขภาพทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค รวมถึงการเฝ้าระวังเเละป้องการปัญหายาเสพติดในพื้นที่

 

90 0

2. แบ่งกลุ่มการเรียนรู้(Work Shop) เรื่อง แนวทางการแก้ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นจริงในสังคมยุคปัจจุบัน

วันที่ 1 เมษายน 2564 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แบ่งกลุ่มเพื่อเเสดงความคิดเห็นเเละหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของคนในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เยาวชนมีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ ครอบคลุมทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค ให้แก่เยาวชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรม มีองค์ความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
64.00

 

2 เพื่อสร้างกลุ่มแกนนำเยาวชน “รักษ์สุขภาพ” ในการส่งเสริม ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ รวมถึงร่วมกันแก้ไขปัญหาการติดยาเสพติดของเยาวชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้เข้ารับการอบรม เป็นเเกนนำเยาวชน “รักษ์สุขภาพ” ในพื้นที่
80.00

 

3 เพื่อให้เยาวชนสามารถพัฒนาทักษะในด้านต่างๆ รวมถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งด้านความคิด การปฏิบัติตน และสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจ ไม่ตกเป็นเครื่องมือของอบายมุข
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรม มีทักษะในการใช้ชีวิตในสังคมและมีภูมิคุ้มกันด้านจิตใจที่เข้มแข็ง
64.00

 

4 เพื่อให้เยาวชนมีสุขภาวะที่ดี เกิดความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งส่งผลให้การดำรงชีวิตในสังคมเป็นไปอย่างปกติสุขด้วยความสมัครใจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีสุขภาวะที่ดี เกิดความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ในพื้นที่
64.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ ครอบคลุมทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค ให้แก่เยาวชนในพื้นที่ (2) เพื่อสร้างกลุ่มแกนนำเยาวชน “รักษ์สุขภาพ” ในการส่งเสริม ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ รวมถึงร่วมกันแก้ไขปัญหาการติดยาเสพติดของเยาวชนในพื้นที่ (3) เพื่อให้เยาวชนสามารถพัฒนาทักษะในด้านต่างๆ รวมถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งด้านความคิด การปฏิบัติตน และสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจ ไม่ตกเป็นเครื่องมือของอบายมุข (4) เพื่อให้เยาวชนมีสุขภาวะที่ดี เกิดความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งส่งผลให้การดำรงชีวิตในสังคมเป็นไปอย่างปกติสุขด้วยความสมัครใจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) แบ่งกลุ่มการเรียนรู้(Work Shop) เรื่อง แนวทางการแก้ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นจริงในสังคมยุคปัจจุบัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต ปลูกจิตสำนึก“รักษ์สุขภาพ”ในเยาวชนตำบลสะดาวา จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฮัยฟา จาหลง (นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด