กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการเด็กตำบลโคกเคียนพัฒนาการดีสมวัย ปลอดภัยจากภาวะโลหิตจาง ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางเรวดี รังษีโกศัย

ชื่อโครงการ โครงการเด็กตำบลโคกเคียนพัฒนาการดีสมวัย ปลอดภัยจากภาวะโลหิตจาง

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2492-1-11 เลขที่ข้อตกลง 11/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กตำบลโคกเคียนพัฒนาการดีสมวัย ปลอดภัยจากภาวะโลหิตจาง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กตำบลโคกเคียนพัฒนาการดีสมวัย ปลอดภัยจากภาวะโลหิตจาง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กตำบลโคกเคียนพัฒนาการดีสมวัย ปลอดภัยจากภาวะโลหิตจาง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2492-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโลหิตจางเกิดได้จากหลายสาเหตุ โดยที่พบบ่อยที่สุดคือโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก  เราจะได้รับธาตุเหล็กจากอาหารเป็นหลัก โดยอาหารที่พบธาตุเหล็กมาก ได้แก่ เนื้อสัตว์เนื้อแดง เครื่องในสัตว์ เช่น ตับ นอกจากนี้ ยังพบธาตุเหล็กได้ในผักใบเขียวและธัญพืช แต่ธาตุเหล็กในอาหารประเภทหลังนี้จะถูกดูดซึมได้ไม่ดีเท่าธาตุเหล็กจากอาหารพวกเนื้อสัตว์และอาจมีสารยับยั้งการดูดซึมธาตุเหล็กได้ด้วย อาหารและเครื่องดื่มบางประเภทอาจมีผลยับยั้งการดูดซึมธาตุเหล็กได้ เช่น ชา กาแฟ ผู้ที่รับประทานยาเสริมแคลเซียมก็อาจไปรบกวนการดูดซึมธาตุเหล็กหากรับประทานพร้อมกัน ส่วนอาหารที่วิตามินซีสูง เช่น ผลไม้รสเปรี้ยว พบว่าช่วยการดูดซึมธาตุเหล็กให้ดีขึ้นได้บ้าง เมื่อรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กแล้ว จะเกิดการดูดซึมธาตุเหล็กต่อ โดยอาศัยความเป็นกรดในกระเพาะอาหารช่วย การดูดซึมจะเกิดที่ลำไส้เล็กส่วนต้น หลังจากนั้นจะมีโปรตีนส่งธาตุเหล็กไปตามเซลล์ต่างๆและไปเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ โดยกว่าสองในสามของธาตุเหล็กในร่างกายจะอยู่ในเม็ดเลือดแดงในส่วนที่เรียกว่า “ฮีม” ซึ่งจะเป็นส่วนที่ช่วยในการจับกับออกซิเจนและส่งไปให้ส่วนต่างๆของร่างกายนั่นเอง ส่วนที่เหลือของธาตุเหล็กจะถูกเก็บสะสมไว้ในตับ ม้าม และไขกระดูก เราขาดธาตุเหล็กเพราะอะไร    สาเหตุของการขาดธาตุเหล็กพบได้หลากหลาย ที่พบบ่อย เช่น. รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กน้อย พบได้บ่อยในเด็กทารกที่รับประทานแต่นมเพียงอย่างเดียว เนื่องจากในนมมีปริมาณธาตุเหล็กเพียงเล็กน้อย ในผู้ใหญ่ การขาดธาตุเหล็กจากการรับประทานน้อยเจอได้ไม่บ่อย การดูดซึมธาตุเหล็กผิดปกติ เป็นสาเหตุที่พบได้ไม่บ่อย อาจเกิดจากการมีกรดในกระเพาะอาหารลดลง เช่น ผู้ที่รับประทานยาลดกรดในกระเพาะอาหารนานๆหรือผู้สูงอายุ ผู้ที่เคยได้รับการผ่าตัดเอากระเพาะอาหารออก ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดเอาลำไส้เล็กส่วนต้นออก ผู้ที่มีการอักเสบของลำไส้เล็กส่วนต้นเรื้อรัง เป็นต้น  ผู้ที่ขาดธาตุเหล็กในระยะแรกอาจยังไม่มีอาการใดๆ เนื่องจากมีธาตุเหล็กที่เก็บสะสมสำรองอยู่ ต่อเมื่อการขาดธาตุเหล็กนั้นเป็นมากขึ้นจึงค่อยๆเริ่มเกิดอาการ อาการอาจเป็นแบบไม่จำเพาะ เช่น รู้สึกหงุดหงิด ความคิดความอ่านไม่แจ่มใส นอนไม่หลับ อาการที่เกิดได้บ่อยและทำให้แพทย์วินิจฉัยภาวะขาดธาตุเหล็กได้นั้นมักเกิดจากอาการทางระบบเลือด ได้แก่การเกิดภาวะโลหิตจางนั่นเอง อาการของภาวะโลหิตจาง ได้แก่ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายมากขึ้นเวลาออกแรง หรือหากเป็นมากอาจมีอาการเหนื่อยเวลาอยู่เฉยๆ มีอาการเวียนศีรษะ หมดสติ ใจสั่น หัวใจล้มเหลว ผู้ป่วยบางรายอาจมีคนทักว่าดูซีดลงสำหรับในผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะโลหิตจากจะส่งผลต่อพัฒนาการและสติปัญญาของเด็กอย่างเห็นได้ชัด ทำให้พัฒนาการล่าช้าและสติปัญญาการรับรู้จะช้าลงกว่าเด็กปกติ กินอาหารรสเผ็ดแล้วแสบลิ้นเนื่องจากมีลิ้นเลี่ยน ในรายที่เป็นมานานๆอาจมีเล็บผิดรูปโดยงอเป็นรูปช้อน  ซึ่งในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.โคกเคียนซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายที่ต้องคัดกรองภาวะซีดในเด็กตั้งแต่อายุ 6 เดือน – 5 ปี ในปีที่ผ่านมา จำนวน 350 คนพบว่ามีภาวะซีด(ความเข้มข้นเลือดน้อยกว่า 32% สูงถึงร้อยละ 28 จึงเห็นว่าควรจะมีการคัดกรองที่ต่อเนื่องและเฝ้าระวังในกลุ่มเป้าหมายในเด็กกลุ่มดังกล่าวในปีนี้เพื่อป้องกันได้ทันท่วงทีและได้รับการแก้ไขภาวะซีดในเด็กอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นจึงได้จัดทำโครงการ เด็กตำบลโคกเคียนพัฒนาการดีสมวัย ปลอดภัยจากภาวะโลหิตจางปี 2564 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องภาวะโลหิตจางและการเฝ้าระวังอย่างถูกต้อง กลุ่มเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี
  2. เพื่อให้เด็ก อายุ 6 เดือนถึง 5 ปีได้รับการคัดกรองหาภาวะโลหิตจาง
  3. เพื่อให้ อสม.มีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในเด็ก 6 เดือนถึง 5 ปีและสามารถให้คำแนะนำได้ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมผู้ปกครองเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปีที่มีภาวะโลหิตจาง (ความเข้มข้นเลือดน้อยกว่า 32%) จำนวน 80 คน
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการอสม. เรื่องการคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็ก 6 เดือน ถึง 5 ปี จำนวน 60 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เด็กแรกอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปีมีภาวะโลหิตจางลดลง

๒.ผู้ปกครองเด็ก 6 เดือน ถึง 5 ปี เข้าใจและ มีความรู้ในการดูแลให้บุตรหลานมีภาวะโภชนาการที่สมวัย และปลอดภัยจากภาวะโลหิตจาง

๓. อสม. มีทักษะในการตรวจคัดกรอง ภาวะโลหิตจางเบื้องต้นแก่เด็ก อายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี

๔. มีกลุ่มเด็กต้นแบบ เด็กสุขภาพดี พัฒนาการสมวัยที่ผ่านการประกวดในระดับ อำเภอ และจังหวัดต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องภาวะโลหิตจางและการเฝ้าระวังอย่างถูกต้อง กลุ่มเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องภาวะโลหิตจางและการเฝ้าระวังอย่างถูกต้อง ร้อยละ 95
95.00

 

2 เพื่อให้เด็ก อายุ 6 เดือนถึง 5 ปีได้รับการคัดกรองหาภาวะโลหิตจาง
ตัวชี้วัด : เด็ก อายุ 6 เดือนถึง 5 ปีได้รับการคัดกรองหาภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 95
95.00

 

3 เพื่อให้ อสม.มีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในเด็ก 6 เดือนถึง 5 ปีและสามารถให้คำแนะนำได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : อสม.มีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในเด็ก 6 เดือนถึง 5 ปีและสามารถให้คำแนะนำได้ถูกต้อง ร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องภาวะโลหิตจางและการเฝ้าระวังอย่างถูกต้อง  กลุ่มเด็กอายุ  6 เดือน ถึง 5 ปี (2) เพื่อให้เด็ก อายุ 6 เดือนถึง 5 ปีได้รับการคัดกรองหาภาวะโลหิตจาง (3) เพื่อให้ อสม.มีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในเด็ก 6 เดือนถึง 5 ปีและสามารถให้คำแนะนำได้ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมผู้ปกครองเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปีที่มีภาวะโลหิตจาง (ความเข้มข้นเลือดน้อยกว่า 32%)  จำนวน 80 คน (2) อบรมเชิงปฏิบัติการอสม. เรื่องการคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็ก 6 เดือน ถึง 5 ปี จำนวน 60 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กตำบลโคกเคียนพัฒนาการดีสมวัย ปลอดภัยจากภาวะโลหิตจาง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2492-1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเรวดี รังษีโกศัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด