กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหลา


“ โครงการขยะในโรงเรียน ”

ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวิลาวรรณ แก่นจันทร์

ชื่อโครงการ โครงการขยะในโรงเรียน

ที่อยู่ ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5166-3-07 เลขที่ข้อตกลง 11/64

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขยะในโรงเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขยะในโรงเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขยะในโรงเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5166-3-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สาเหตุและที่มาของขยะ! เกิดจากความมักง่ายและขาดจิตสำนึก ถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้น เป็นสาเหตุที่พบบ่อยมาก ซึ่งจะเห็นได้จากการทิ้งขยะลงตามพื้นหรือแหล่งน้ำโดยไม่ทิ้งลงในถังรองรับที่จัดไว้ให้ หรือแม้กระทั่งการซื้อของการใช้สิ่งของของนักเรียนเช่น ขนม กระดาษ แก้วน้ำ ขวดน้ำ โดยใส่ถุงพลาสติกหลายๆถุง ทำให้มีขยะเพิ่มในปริมาณมาก ในปัจจุบัน! ใครหลายๆคนอาจจะเคยชินกับการทิ้งขยะเรี่ยราดไม่เป็นที่เป็นทาง ไม่ว่าจะเป็นที่สวนสาธารณะ ถนน ที่ทำงาน หรือแม้กระทั่งโรงเรียน รอบๆที่ตนเองอยู่ตรงนั้น เช่น โต๊ะหินอ่อน โต๊ะนักเรียน บนพื้น ท่อระบายน้ำ หรือแม้แต่ต้นไม้ที่เป็นซอกเป็นรูก็ยังทิ้งไปได้มีแต่นักเรียนส่วนน้อยและคุณครูที่เห็นว่าการทิ้งขยะไม่ถูกที่ทำให้โรงเรียนไม่สะอาด ดูไม่งามตา และคุณครูทุกๆคน ก็สั่งสอนลูกของตนให้มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย และมีความรักษาความสะอาดอยู่แล้ว โดยการจัดกลุ่มรับผิดชอบตามจุดที่ได้รับมอบหมายทำความสะอาดทุกวันแต่เป็นการแก้ปัญหาปลายเหตุและเพียงบรรเทาไม่ให้ขยะมันมากเกินไป เพราะฉะนั้นการสร้างวินัย และส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในเรื่องภัยร้ายที่เกิดจากขยะให้กับ นักเรียน ครูและผู้ปกครอง ซึ่งผู้ปกครองเองมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งเพราะทุกฝ่ายต้องประสานความร่วมมือกันจึงจะประสบผลสำเร็จได้ โรงเรียนวัดเลียบตำบลคลองหลาอำเภอคลองหอยโข่งจังหวัดสงขลาตระหนักและเห็นปัญหาที่เกิดจากขยะจึงได้จัดทำโครงการขยะในโรงเรียน โดยใช้หลักการเกษตรอินทรีย์ที่บูรณาการกับการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนซึ่งโรงเรียนได้มีการคัดแยกขยะและจะใช้ขยะแห้งที่ย่อยสลายได้ทำปุ๋ยหมักและใช้ปุ๋ยหมักที่ได้นำมาปลูกผักและในแปลงผักส่วนขยะแห้งที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ก็นำกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ด้วยการประดิษฐ์เป็นสิ่งของต่างๆตามสภาพของขยะแต่ละชนิดนอกจากนั้นยังใช้ขยะเปียกที่ได้จากโรงอาหารมาทำน้ำหมักชีวภาพแล้วนำน้ำหมักชีวภาพที่ได้มารดผักที่ปลูกแทนการใช้ปุ๋ยเคมี เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องและมีประโยชน์ต่อนักเรียนและยังอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากขยะและผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากพืชผักในท้องถิ่น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้นักเรียนสามารถคัดแยกขยะและนำขยะกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ Ego bit
  2. 2.เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองรู้จักทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะเปียกในครัวเรือนและนำไปใช้ประโยชน์ได้
  3. 3.เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองรู้จักทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากเศษใบไม้ในครัวเรือนและนำไปใช้ในการปลูกพืชผักได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ Ego bit กิจกรรมที่ 2 การทำปุยหมักจากเศษขยะย่อยสลายได้ กิจกรรมที่3 การทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน ประกอบด้วย - นักเรียนชั้น ป.1 จำนวน 10 คน - ผู้ปกครองนักเรียนชั้น ป.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 72
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนและผู้ปกครองสามารถคัดแยกขยะและนำขยะกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
  2. นักเรียนและผู้ปกครองสามารถบริหารจัดการขยะในครัวเรือนให้เกิดประโยชน์โดยบูรณาการ กับการทำเกษตรอินทรีย์ได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้นักเรียนสามารถคัดแยกขยะและนำขยะกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ Ego bit
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 นักเรียนสามารถคัดแยกขยะและนำขยะกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
50.00 90.00

 

2 2.เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองรู้จักทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะเปียกในครัวเรือนและนำไปใช้ประโยชน์ได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 นักเรียนและผู้ปกครองรู้จักทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะเปียกในครัวเรือนและนำไปใช้ประโยชน์ได้
40.00 100.00

 

3 3.เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองรู้จักทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากเศษใบไม้ในครัวเรือนและนำไปใช้ในการปลูกพืชผักได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 นักเรียนและผู้ปกครองรู้จักทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากเศษใบไม้ในครัวเรือนและนำไปใช้ในการปลูกพืชผักได้
65.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 132
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 72
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้นักเรียนสามารถคัดแยกขยะและนำขยะกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ Ego  bit (2) 2.เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองรู้จักทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะเปียกในครัวเรือนและนำไปใช้ประโยชน์ได้ (3) 3.เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองรู้จักทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากเศษใบไม้ในครัวเรือนและนำไปใช้ในการปลูกพืชผักได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1  กิจกรรมการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ Ego  bit กิจกรรมที่ 2  การทำปุยหมักจากเศษขยะย่อยสลายได้ กิจกรรมที่3  การทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน ประกอบด้วย  - นักเรียนชั้น ป.1  จำนวน  10  คน  - ผู้ปกครองนักเรียนชั้น ป.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขยะในโรงเรียน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5166-3-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิลาวรรณ แก่นจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด