กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เดื่อศรีคันไชย


“ โครงการบ้านน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี หน้าบ้านสวย หลังบ้านสวน หมู่ที่ 1,4,8,13 และ16 ”

ตำบลเดื่อศรีคันไชย อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร

หัวหน้าโครงการ
นางดาราณี นาถนอม

ชื่อโครงการ โครงการบ้านน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี หน้าบ้านสวย หลังบ้านสวน หมู่ที่ 1,4,8,13 และ16

ที่อยู่ ตำบลเดื่อศรีคันไชย อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร จังหวัด สกลนคร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี หน้าบ้านสวย หลังบ้านสวน หมู่ที่ 1,4,8,13 และ16 จังหวัดสกลนคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเดื่อศรีคันไชย อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เดื่อศรีคันไชย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี หน้าบ้านสวย หลังบ้านสวน หมู่ที่ 1,4,8,13 และ16



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบ้านน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี หน้าบ้านสวย หลังบ้านสวน หมู่ที่ 1,4,8,13 และ16 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเดื่อศรีคันไชย อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เดื่อศรีคันไชย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เมืองน่าอยู่ ในแนวคิดขององค์การอนามัยโลก คือ กระบวนการที่ทำให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสุขภาพสังคม และพร้อมที่จะร่วมกันสรรค์สร้างสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมในการดำรงชีวิต และในขณะเดียวกัน เมืองน่าอยู่ ก็คือเมืองที่มีการสร้างสรรค์และปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทั้งด้านกายภาพและสังคมอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการขยายแหล่งทรัพยากรชุมชน โดยให้ประชาชนในชุมชนนั้นมีส่วนร่วมและช่วยเหลือซึ่งกันและกันเกี่ยวกับการดำเนินชีวิต เพื่อให้ได้ศักยภาพหรือคุณภาพของชีวิตที่ดีที่สุดการรักษาสภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เช่น การจัดบ้านเรือนให้สะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย การกำจัดขยะมูลฝอย การกำจัดน้ำเสียและสิ่งปฏิกูล จะเป็นการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์แมลงนำโรคและทำลายที่อยู่อาศัยของสัตว์พาหะนำโรคติดต่อต่าง ๆ อีกทั้ง การสุขาภิบาลอาหาร การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนอีกด้วย การจัดการสุขาภิบาลในชุมชน และการปรับปรุงอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้ชุมชนสะอาดน่าอยู่ จะส่งผลให้การเกิดโรคระบาดต่างๆลดลงไปด้วย โดยเฉพาะการจัดการขยะ ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง และสัตว์ต่างๆ ที่ก่อให้เกิดโรคติดต่อหากได้รับการจัดการที่ถูกต้อง จะทำให้ประชาชนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆน้อยลง ประกอบกับในปัจจุบันรัฐบาลภายใต้การนำของ คสช. เน้นเรื่องการจัดการขยะซึ่งเป็นปัญหาสำคัญระดับชาติที่ต้องช่วยกัน โดยให้ประชาชนร่วมกันคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ตั้งแต่ในครัวเรือน เพื่อช่วยลดขยะที่เข้าสู่ระบบการกำจัด ให้น้อยลง จากการสังเกตเห็นพฤติกรรมการทิ้งขยะและการจัดการขยะในครัวเรือนของประชาชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านยางคำ หมู่ที่ 1 ตำบลเดื่อศรีคันไชย อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร จึงได้ให้ความสำคัญ ในการช่วยกันรณรงค์ทำความสะอาด จัดการขยะ เพื่อให้หมู่บ้าน เป็นชุมชนสะอาด น่าอยู่ เพื่อป้องกันโรคติดต่อและมีการปลูกผักบริโภคเองในชุมชน ทำให้ประชาชนมีสุขภาพดี ปลอดภัยจากโรค ได้อีกทางหนึ่งด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ให้ทุกครัวเรือนปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคเอง ในครัวเรือน
  2. ให้ชุมชนมีความน่าอยู่ สะอาด สวยงาม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ปลูกผักปลอดสารพิษทุกครัวเรือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทุกครัวเรือนมีการปลูกผักสวนครัวไว้บริโภคเอง
  2. ชุมชนมีการรณรงค์ทำความสะอาดทุกเดือน
  3. ชุมชนมีผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ให้ทุกครัวเรือนปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคเอง ในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : 1. ทุกครัวเรือนมีการปลูกผักสวนครัวไว้บริโภคเอง 2. ชุมชนมีการรณรงค์ทำความสะอาดทุกเดือน 3. ชุมชนมีผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน
500.00

 

2 ให้ชุมชนมีความน่าอยู่ สะอาด สวยงาม
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความน่าอยู่ สะอาด สวยงาม จำนวน 5 ชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ให้ทุกครัวเรือนปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคเอง ในครัวเรือน (2) ให้ชุมชนมีความน่าอยู่ สะอาด สวยงาม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปลูกผักปลอดสารพิษทุกครัวเรือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบ้านน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี หน้าบ้านสวย หลังบ้านสวน หมู่ที่ 1,4,8,13 และ16 จังหวัด สกลนคร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดาราณี นาถนอม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด