กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ (โรงเรียนชราบาล) ตำบลฝาละมี ประจำปี 2564 ”

ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายประยูร ชูแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ (โรงเรียนชราบาล) ตำบลฝาละมี ประจำปี 2564

ที่อยู่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-l3338-02-03 เลขที่ข้อตกลง 64-l3338-02-03

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ (โรงเรียนชราบาล) ตำบลฝาละมี ประจำปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ (โรงเรียนชราบาล) ตำบลฝาละมี ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง (2) 2 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล (3) 3 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (4) 4 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิดเห็นทัศนะต่างๆ ร่วมกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่  1.ประชุมคณะทำงานชี้แจงโครงการจำนวน มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 30 คน จำนวน 2 ครั้ง
2. ประชุมทบทวน/พิจารณาจัดทำหลักสูตรการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ประกอบด้วย การดูแลตนเองป้องกันในการหกล้ม การดูแลในการรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ และการดูแลสุขภาพจิตใจของผู้สูงอายุ จำนวน 1 ครั้ง 3. ารจัดกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ มี ผู้ศุงอายุเข้าร่งมประชุม เฉลีย ครั้งละ 70 - คน จำนวน 14 ครั้ง โดยมีการเรียนการสอน ในเรื่องดังต่อไปนี้ - การดูแลตนเองป้องกันในการหกล้ม
- การดูแลในการรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
- การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ - การดูแลสุขภาพจิตใจของผู้สูงอายุ
- กิจกรรมนันทนาการ เช่น รำวง
- กิจกรรมบุญประเพณีตามวันสำคัญ เช่น วันมาฆะบูชาวันสงกรานต์ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา
- จัดทำกลุ่มส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ
- การค้นหาภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ
- การปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพ - สิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุ - กฏหมายที่ควรรู้ 4.อบรมพัฒนาด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ และสังคมแก่แกนนำผู้สูงอายุ ทัศนศึกษา มีผู้สูงอายุ เข้าร่วม จำนวน 55 คน หลักสูตร 3 วัน จำนวน 1 ครั้ง 5. การขยายผลจากกลุ่มผู้สูงอายุ ที่เข้าร่วมโครงการฯและผู้ที่จะเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุในอนาคต ให้มีความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ เพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุอย่างมรคุณค่า คุณภาพต่อไป ไปยังชุมชนต่างๆ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) เนื่องจาก มีผู้สูงอายุในตำบล บางรายมีสุขภาพไม่ดี การเดินทางมาร่วมกิจกรรม ไม่สะดวก ดังนั้นควรจัดกิจกรรม กระจายให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ หรือจัดหายานพาหนะ ให้ผู้สูงอายุ มาร่วมกิจกรรม

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุเป็นบุคคล ที่สถาบันครอบครัวไทยให้การเคารพยกย่องมากที่สุด เพราะเป็นบุคคลที่มีประสบการณ์ในชีวิตสูง  เป็นผู้ถ่ายทอดความสามารถ ประเพณี วัฒนธรรมและค้ำจุนจิตใจ  ให้แก่บุคคลในครอบครัว ชุมชน และสังคม ได้อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด       แต่ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยจะสูญเสียความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันความสามารถเสื่อมถอย ต้องอาศัยญาติและครอบครัวคอยดูแล ทำให้เป็นภาระ ผลกระทบต่อภาวะทุพพลภาพในผู้สูงอายุ เกิดจากกระบวนการการสูงวัยและโรคต่าง ๆ มากมายทำให้เกิดปัญหา ทั้งด้านสุขภาพ กาย สุขภาพจิต เศรษฐกิจ สังคม ปัญหาเกี่ยวกับครอบคัว และปัญหา ค่านิยมที่เปลี่ยนแปลง เป็นกลุ่มประชากรที่ใช้บริการสุขภาพสูงกว่าวัยอื่นๆ และจะต้องใช้จ่ายงบประมาณของประเทศในด้านการรักษาพยาบาลสูง
        ผู้สูงอายุ กลุ่มติดบ้านในเขตตำบลฝาละมี  อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง สมาชิกทั้งหมด 712 คน จากการสำรวจสภาวะพบว่า มีปัญหาด้านสุขภาพและวิตกกังวลสูง โดยพบการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูก จำนวน 305 คน คิดเป็นร้อยละ 42.83 โรคระบบทางเดินหายใจ จำนวน 96 คน คิดเป็นร้อยละ 13.48 โรคระบบทางเดินหายใจ จำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 9.55 โรคเบาหวาน จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 16.85 โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 123 คน คิดเป็นร้อยละ 17.27  การได้รับความรู้  เรื่องการดูแลสุขภาพ และการออกกำลังกายอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอจะสามารถป้องกันและแก้ไขภาวะผิดปกติที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูกปัญหาสุขภาพร่างกาย รวมทั้งปัญหาสุขภาพจิต ช่วยให้อายุยืนยาวขึ้น และมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบรูณ์แข็งแรง         อย่างไรก็ตามการมารับความรู้ในโรงเรียนผู้สูงวัย พร้อมกับการออกกำลังกายนี้จำเป็นต้องจัดให้เหมาะสมกับร่างกาย เช่น เพศ และความแข็งแรงที่มีอยู่ เนื่องจากการออกกำลังกายมากเกินไป หรือหักโหมจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายได้ การออกกำลังกายเป็นประจำจึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับผู้สูงอายุ เพราะนอกจากจะช่วยป้องกันการเสื่อมโทรมของร่างกายแล้ว ยังสามารถแก้ไขความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นแล้วได้ด้วยการออกกำลังกาย       ชมรมผู้สูงอายุตำบลฝาละมี ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ คุณค่าของผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นผู้ที่มีคุณประโยชน์ต่อสังคม  จึงได้ดำเนินการจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ (โรงเรียนชราบาล) ตำบลฝาละมี ประจำปี 2564 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ได้มีโอกาสเข้าอบรมพัฒนาคุณภาพชีวิต และเป็นการส่งเสริมสุขภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ของผู้สูงอายุให้ดีขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ได้มีโอกาสเข้าอบรมพัฒนาคุณภาพชีวิต และเป็นการส่งเสริมสุขภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ของผู้สูงอายุให้ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง
  2. 2 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
  3. 3 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
  4. 4 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิดเห็นทัศนะต่างๆ ร่วมกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    แสดงผลที่จะเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม หลังจากเสร็จสิ้นโครงการ ได้แก่     (1) ความต่อเนื่องยั่งยืน ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมบ้าน และดูแลอย่างต่อเนื่องทุกเดือนโดยสหวิชาชีพ และ อสผ.   - ผู้สูงอายุห่วงใยไม่ทอดทิ้งกันมีการรวมกลุ่มช่วยเหลือกันและกัน       - ผู้สูงอายุสุขภาพแข็งแรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อายุยืนเกิน 80 ปี       - ผู้สูงอายุมีความสุข มีรอยยิ้ม มีกำลังใจไม่เป็นโรคซึมเศร้า และสุขภาพดี มีรายได้เพิ่ม   (2) การขยายผล ขยายผลจากกลุ่มผู้สูงอายุ ที่เข้าร่วมโครงการฯและผู้ที่จะเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุในอนาคต ให้มีความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ เพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุอย่างมรคุณค่า คุณภาพต่อไป


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง
    ตัวชี้วัด : - ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรค ร้อยละ 80
    80.00 84.50

     

    2 2 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
    ตัวชี้วัด : - จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
    100.00 100.00

     

    3 3 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50
    50.00 55.50

     

    4 4 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิดเห็นทัศนะต่างๆ ร่วมกัน
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100 ได้ทำ กิจกรรมด้านศาสนาร่วมกัน
    0.00 100.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 98
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0 2
    กลุ่มวัยทำงาน 0 26
    กลุ่มผู้สูงอายุ 0 70
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง (2) 2 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล (3) 3 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (4) 4 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิดเห็นทัศนะต่างๆ ร่วมกัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่  1.ประชุมคณะทำงานชี้แจงโครงการจำนวน มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 30 คน จำนวน 2 ครั้ง
    2. ประชุมทบทวน/พิจารณาจัดทำหลักสูตรการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ประกอบด้วย การดูแลตนเองป้องกันในการหกล้ม การดูแลในการรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ และการดูแลสุขภาพจิตใจของผู้สูงอายุ จำนวน 1 ครั้ง 3. ารจัดกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ มี ผู้ศุงอายุเข้าร่งมประชุม เฉลีย ครั้งละ 70 - คน จำนวน 14 ครั้ง โดยมีการเรียนการสอน ในเรื่องดังต่อไปนี้ - การดูแลตนเองป้องกันในการหกล้ม
    - การดูแลในการรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
    - การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ - การดูแลสุขภาพจิตใจของผู้สูงอายุ
    - กิจกรรมนันทนาการ เช่น รำวง
    - กิจกรรมบุญประเพณีตามวันสำคัญ เช่น วันมาฆะบูชาวันสงกรานต์ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา
    - จัดทำกลุ่มส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ
    - การค้นหาภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ
    - การปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพ - สิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุ - กฏหมายที่ควรรู้ 4.อบรมพัฒนาด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ และสังคมแก่แกนนำผู้สูงอายุ ทัศนศึกษา มีผู้สูงอายุ เข้าร่วม จำนวน 55 คน หลักสูตร 3 วัน จำนวน 1 ครั้ง 5. การขยายผลจากกลุ่มผู้สูงอายุ ที่เข้าร่วมโครงการฯและผู้ที่จะเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุในอนาคต ให้มีความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ เพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุอย่างมรคุณค่า คุณภาพต่อไป ไปยังชุมชนต่างๆ

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) เนื่องจาก มีผู้สูงอายุในตำบล บางรายมีสุขภาพไม่ดี การเดินทางมาร่วมกิจกรรม ไม่สะดวก ดังนั้นควรจัดกิจกรรม กระจายให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ หรือจัดหายานพาหนะ ให้ผู้สูงอายุ มาร่วมกิจกรรม

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ (โรงเรียนชราบาล) ตำบลฝาละมี ประจำปี 2564 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 64-l3338-02-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประยูร ชูแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด