กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวานรนิวาส


“ โครงการคนวานร รักษ์ไต ใส่ใจสุขภาพ ”

ตำบลวานรนิวาส อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลวานรนิวาส

ชื่อโครงการ โครงการคนวานร รักษ์ไต ใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลวานรนิวาส อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร จังหวัด สกลนคร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคนวานร รักษ์ไต ใส่ใจสุขภาพ จังหวัดสกลนคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวานรนิวาส อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวานรนิวาส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคนวานร รักษ์ไต ใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคนวานร รักษ์ไต ใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวานรนิวาส อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวานรนิวาส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์โรคไตในปัจจุบันกำลังเป็นปัญหาใหญ่ระดับโลก คนไทยมีแนวโน้มป่วยเพิ่มขึ้นสาเหตุส่วนใหญ่ร้อยละ 70 เกิดจากเบาหวานและความดันโลหิตสูง ซึ่งมีสถิติผู้ป่วยรวมเกือบ 15 ล้านคน ผลที่ตามมาคือมีภาวะไตเสื่อมและไตเสื่อมเร็วขึ้น หากปฏิบัติตัวไม่ถูกต้อง จากข้อมูลพบว่าคนไทยป่วยเป็นโรคไตเรื้อรังร้อยละ 17.6 ของประชากร หรือประมาณ 8 ล้านคน เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2 แสนคน ป่วยเพิ่มปีละกว่า 7,800 ราย ส่วนการผ่าตัดเปลี่ยนไตทำได้เพียงปีละ 500 ราย จึงเน้นการชะลอความเสื่อมของไตเพื่อให้เข้าสู่ระยะที่ต้องล้างไตช้าลงโรคไตเรื้อรัง จัดเป็นเป็นหาสำคัญของระบบสาธารณสุขทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย ซึ่งรัฐบาลต้องสูญเสียทรัพยากรจำนวนมากในการดูแลรักษาผู้ป่วยกลุ่มนี้ โดยปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง คือ โรคเบาหวาน และ โรคความดันโลหิตสูง (ลีน่า,2548) โดยเฉพาะผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิต ไม่ได้ตามเป้าหมาย หรือการดูแลตัวเองที่ไม่เหมาะสม ซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาวะด้านจิตใจ อารมณ์ และสังคมของผู้ป่วยอย่างมากผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น หากไม่ได้รับการรักษาต่อเนื่อง โดยการบำบัดทดแทนไต ซึ่งมีผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่รอการผ่าตัดเปลี่ยนไตใหม่ประมาณ 40,000 ราย ซึ่งมีขั้นตอนในการรักษายุ่งยาก และเสียค่าใช้จ่ายสูงถึงปีละประมาณ 2 แสนบาทต่อคน ส่วนผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายไตมีเพียงปีละ 400 ราย เท่านั้น นอกจากนี้ยังมีข้อจำกัดคือ ขาดแคลนผู้บริจาคไต ผู้ป่วยจึงต้องรับการรักษาเพื่อยืดอายุโดยวิธีฟอกเลือดโดยเครื่องไตเทียมหรือล้างของเสียทางหน้าท้อง
นพ.รัฐพล เตรียมวิชานนท์ ผู้ช่วยเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) กล่าวถึง ในแต่ละปีได้จัดงบประมาณหลายล้านบาท โดยเน้นส่งเสริมป้องกันดูแลแบบครบวงจร ซึ่งผลการทำงานในแต่ละปี จะมีจำนวนผู้ป่วยสูงเกินกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้เพิ่มขึ้นทุกปี สะท้อนให้เห็นว่าคนไทยป่วยเป็นไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายมากขึ้น ทั้งนี้ในปี 2563 สปสช.ได้จัดสรรงบประมาณการบำบัดทดแทนโรคไตวายเรื้อรัง จำนวนกว่า 9,405 ล้านบาท โดยตั้งเป้าจะมีผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 61,948 ราย แบ่งเป็นผู้ป่วยล้างไตผ่านช่องท้องจำนวน31,047 ราย การฟอกเลือดจำนวน 28,546 ราย และการผ่าตัดเปลี่ยนไตจำนวน 172 ราย ผู้ป่วยที่ต้องได้รับยากดภูมิคุ้มกัน 2,183 ราย โดยเฉลี่ยมีค่าใช้จ่ายในการบำบัดทดแทนไตประมาณ 200,000 บาทต่อคนต่อปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับความรู้ และสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อชะลอการเสื่อมของไต 2. เพื่อเสริมพลังในการดูแลสุขภาพโดยวิธีที่เหมาะสมกับภาวะเจ็บป่วยที่เป็นอยู่ 3. เพื่อลดอัตราการล้างไตทางหน้าท้อง และการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมรายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ โดยจัดเป็นฐานการเรียนรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ และทัศนคติที่ดี และเหมาะสมในการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อป้องกันการเสื่อมของไต
  2. ลดอัตราการสูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายที่จะต้องล้างไตทางหน้าท้อง หรือ ฟอกไตด้วยเครื่องไตเทียม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับความรู้ และสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อชะลอการเสื่อมของไต 2. เพื่อเสริมพลังในการดูแลสุขภาพโดยวิธีที่เหมาะสมกับภาวะเจ็บป่วยที่เป็นอยู่ 3. เพื่อลดอัตราการล้างไตทางหน้าท้อง และการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมรายใหม่
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้เรื่องการดูแลตัวเองและป้องกันชะลอไตเสื่อม 2.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีระดับความพึงพอใจในระดับดี
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับความรู้ และสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อชะลอการเสื่อมของไต 2. เพื่อเสริมพลังในการดูแลสุขภาพโดยวิธีที่เหมาะสมกับภาวะเจ็บป่วยที่เป็นอยู่ 3. เพื่อลดอัตราการล้างไตทางหน้าท้อง และการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมรายใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ โดยจัดเป็นฐานการเรียนรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคนวานร รักษ์ไต ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด สกลนคร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลวานรนิวาส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด