กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจัดการขยะและการใช้ประโยชน์จากขยะที่ ส่งผลเสียต่อสุขภาพทั้งทางกายและทางจิตใจ (2) 2.เพื่อให้เกิดครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะและพัฒนาฐานข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 3.กิจกรรม จัดประชุมคืนข้อมูลและพัฒนาศักยภาพครัวเรือนนำร่อง 40ครัวเรือน เรื่องการคัดแยกขยะ การใช้ประโยชน์จากขยะแต่ละประเภท เรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ ให้ความรู้เรื่องโรคที่มากับขยะ และร่วมกำหนดกติกาการจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน (2) 4.กิจกรรม ปฏิบัติการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะในครัวเรือนนำร่องจำนวน 40 ครัวเรือน (3) 5.กิจกรรม คณะทำงานติดตามเยี่ยมเสริมพลัง สร้างแรงจูงใจในการจัดการขยะในครัวเรือน 40 ครัวเรือน โดยคณะทำงานติดตามจำนวน 10 คน (4) 6.กิจกรรม ปฏิบัติการร่วมกันเก็บขยะสองข้างทางในชุมชนบ้านท่าชะมวง เดือนละ 1 ครั้งจำนวน 3 ครั้ง โดยผู้แทนคณะทำงานสีดส่วนอาสาสมัครสาธารณสุขจำนวน 30 คน (5) 7.กิจกรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมสรุปบทเรียนการดำเนินงานเพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างคณะทำงาน แกนนำและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการทำงานหลังสิ้นสุดโครงการ จำนวน 40 คน (6) 1.กิจกรรม จัดประชุมคณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น ตัวแทนผู้นำศาสนา แกนนำ อสม.จำนวน 40 คน เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน ชี้แจงบทบาทการเป็นครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะพื้นที่ ม.1 บ้านท่าชะมวง โดยให้แต่ละครัวเรือนสำร (7) 2. กิจกรรม ประชุมสังเคราะห์ข้อมูลโดยตัวแทนคณะทำงานวิชาการ จำนวน 10 คน เพื่อให้ได้ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะและการคัดแยกของครัวเรือนนำร่องจำนวน 40 ครัวเรือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ