กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจัดการขยะและการใช้ประโยชน์จากขยะที่ ส่งผลเสียต่อสุขภาพทั้งทางกายและทางจิตใจ
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 90 ของครัวเรือนนำร่องมีความรู้ความเข้าใจและสามารถ จัดการขยะมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิดตามหลัก 3r ประกอบด้วย Reduce การลดใช้ reuse การใช้ซ้ำ รีไซเคิลการนำกลับมาใช้ใหม่
0.00

 

2 2.เพื่อให้เกิดครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะและพัฒนาฐานข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : เกิดครัวเรือนต้นแบบและมีฐานข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะบ้านท่าชะมวงร้อยละ 90
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจัดการขยะและการใช้ประโยชน์จากขยะที่ ส่งผลเสียต่อสุขภาพทั้งทางกายและทางจิตใจ (2) 2.เพื่อให้เกิดครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะและพัฒนาฐานข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 3.กิจกรรม จัดประชุมคืนข้อมูลและพัฒนาศักยภาพครัวเรือนนำร่อง 40ครัวเรือน เรื่องการคัดแยกขยะ การใช้ประโยชน์จากขยะแต่ละประเภท เรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ ให้ความรู้เรื่องโรคที่มากับขยะ และร่วมกำหนดกติกาการจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน (2) 4.กิจกรรม ปฏิบัติการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะในครัวเรือนนำร่องจำนวน 40 ครัวเรือน (3) 5.กิจกรรม คณะทำงานติดตามเยี่ยมเสริมพลัง สร้างแรงจูงใจในการจัดการขยะในครัวเรือน 40 ครัวเรือน โดยคณะทำงานติดตามจำนวน 10 คน (4) 6.กิจกรรม ปฏิบัติการร่วมกันเก็บขยะสองข้างทางในชุมชนบ้านท่าชะมวง เดือนละ 1 ครั้งจำนวน 3 ครั้ง โดยผู้แทนคณะทำงานสีดส่วนอาสาสมัครสาธารณสุขจำนวน 30 คน (5) 7.กิจกรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมสรุปบทเรียนการดำเนินงานเพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างคณะทำงาน แกนนำและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการทำงานหลังสิ้นสุดโครงการ จำนวน 40 คน (6) 1.กิจกรรม จัดประชุมคณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น ตัวแทนผู้นำศาสนา แกนนำ อสม.จำนวน 40 คน เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน ชี้แจงบทบาทการเป็นครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะพื้นที่ ม.1 บ้านท่าชะมวง โดยให้แต่ละครัวเรือนสำร (7) 2. กิจกรรม ประชุมสังเคราะห์ข้อมูลโดยตัวแทนคณะทำงานวิชาการ จำนวน 10 คน เพื่อให้ได้ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะและการคัดแยกของครัวเรือนนำร่องจำนวน 40 ครัวเรือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh