กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง


“ โครงการสร้างความเข้าใจในการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ”

จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอามีเนาะ สาเล็ง

ชื่อโครงการ โครงการสร้างความเข้าใจในการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19

ที่อยู่ จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4113-05-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 มิถุนายน 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างความเข้าใจในการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างความเข้าใจในการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างความเข้าใจในการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4113-05-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 มิถุนายน 2564 - 30 มิถุนายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัคซีนจะเป็นกุญแจที่ช่วยเปิดประตูของประเทศให้กลับมารับนักท่องเที่ยว ฟื้นฟูเศรษฐกิจ เปิดร้านค้าทำมาหากิน และกลับมาใช้ชีวิตตามปกติได้ และวัคซีนจะเป็นพลังที่จะช่วยขับเคลื่อนประเทศไทย ให้เดินหน้าต่อไปอย่างมั่นคงและยั่งยืนในระยะยาว ด้วยความสำคัญของวัคซีน ทำให้รัฐบาล ได้พยายามอย่างเต็มที่ ทุกหนทาง ที่จะจัดหาวัคซีนโควิด-19 มาให้ได้มากที่สุด เพื่อประชาชนชาวไทย และผู้อาศัยอยู่บนแผ่นดินนี้ และได้ประกาศให้การฉีดวัคซีนเป็นวาระแห่งชาติที่จะต้องดำเนินการอย่างเต็มที่ให้สำเร็จลุล่วง

จากที่อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปุโรงได้สำรวจความประสงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด 19 จำนวน 3 กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วยกลุ่ม ผู้สูงอายุ อายุ 60 ปี ขึ้นไป ผู้ที่มี 7 กลุ่มโรค และประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 18-59 ปี ผลปรากฏดังต่อไปนี้

  • กลุ่มผู้สูงอายุทั้งหมด จำนวน 373 คน ทำการสำรวจแล้ว 221 คน มีความประสงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 9.38

  • กลุ่ม 7 กลุ่มโรค จำนวน 136 คน ทำการสำรวจแล้ว 39 คน มีความประสงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ4.41

  • กลุ่มประชาชนทั่วไป อายุ 18-59 ปี จำนวน 2,442 คน ทำการสำรวจแล้ว 1,452 คน มีความประสงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 จำนวน 237 คน คิดเป็นร้อยละ 16.40

  • สรุปรวมทั้ง 3 กลุ่ม เป้าหมายทั้งหมด 2,951 คน ทำการสำรวจแล้ว 1,762 คน มีความประสงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 จำนวน 280 คน คิดเป็นร้อยละ 9.49

จากข้อมูล จะเห็นได้ว่า จำนวน ผู้ประสงค์ฉีดวัคซีนมีปริมาณน้อย สาเหตุแผนการฉีดวัคซีนเพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันหมู่ (Herd Immunity) ป้องกันการแพร่กระจายของไวรัสโควิด-19 กลับไม่ราบรื่นนัก เพราะเกิด “ข่าวลือข่าวลวง (Misinformation)” ในสังคมที่สร้างความตื่นตระหนก การเข้าใจแบบผิดๆ นำไปสู่ความไม่ไว้วางใจที่จะเข้ารับการฉีดวัคซีน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปุโรง จึงเล็งเห็นว่า ต้องเร่งตอบคำถามจากสังคมให้ชัดเจน เช่น ทำไมเราได้รับฉีดวัคซีนช้า มีตัวเลือกอื่นหรือไม่ การบริหารจัดการโปร่งใสหรือเปล่า และ การเข้าถึงวัคซีนเป็นสิทธิ์ทั่วถึงเป็นธรรม รวมถึงการให้ข้อมูลที่สร้างความมั่นใจในความปลอดภัย เป็นต้น ซึ่งภาครัฐต้องสร้างความเชื่อมั่น ส่วนประชาชนควรแยกแยะว่าอะไรคือข้อเท็จจริง อะไรคือความคิดเห็นหรือความเชื่อ จะได้ไม่สับสนและมีความมั่นใจมาก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
  2. กลุ่มเป้าหมายห่างไกลจากโรคโควิด-19

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19
  2. กิจกรรมรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีการจองวัคซีน และฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 เพิ่มมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ร้อยละ 20
1.00 1.00

 

2 กลุ่มเป้าหมายห่างไกลจากโรคโควิด-19
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ร้อยละ 20
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ (2) กลุ่มเป้าหมายห่างไกลจากโรคโควิด-19

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 (2) กิจกรรมรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างความเข้าใจในการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4113-05-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอามีเนาะ สาเล็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด