กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาวะเด็กนอกระบบในพื้นที่ตำบลสะเอะ ”

จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเราะมาน เทษา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาวะเด็กนอกระบบในพื้นที่ตำบลสะเอะ

ที่อยู่ จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64 – L4114 -02-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาวะเด็กนอกระบบในพื้นที่ตำบลสะเอะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาวะเด็กนอกระบบในพื้นที่ตำบลสะเอะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาวะเด็กนอกระบบในพื้นที่ตำบลสะเอะ " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64 – L4114 -02-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลสถานการณ์เด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษาจากการสำรวจของ กสศ. ร่วมกับหน่วยงานของรัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องในเดือนกันยายน 2562 พบว่า มีเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษาที่มีอายุระหว่าง 2-21 ปี เฉพาะใน 20 จังหวัด จำนวน 867,242คน แบ่งเป็น เด็กปฐมวัยช่วงอายุ 2-6 ปี จำนวน 242,002 คน ช่วงอายุ 7-17 ปี จำนวน 177,383 คน และอายุระหว่าง 18-21 ปี จำนวน 447,846 คน โดยในพื้นที่จังหวัดยะลามีเด็กและเยาวชนนอกระบบจำนวน 34,991 คน
สาเหตุการหลุดออกจากระบบมีหลากหลาย สาเหตุแรก ๆ คือความยากจน (จังหวัดชายแดนภาคใต้มีความยากจนสูงเมื่อเทียบกับจังหวัดอื่น ๆ ของประเทศ) ต้องช่วยครอบครัวไม่สะดวกในการเดินทางเพราะบ้านอยู่ไกลโรงเรียน ต้องย้ายบ้านบ่อย ติดเพื่อนหรือ ติดยาเสพติด ตั้งครรภ์และตั้งครอบครัวเรียนไม่รู้เรื่อง หลายคนออกจากโรงเรียนแล้วการอ่านเขียนยังใช้ไม่ได้ โดยสาเหตุส่วนหนึ่งคือไม่คุ้นกับภาษาไทยที่เป็นสื่อการเรียนการสอนด้วยภาษาแม่คือภาษามลายูถิ่น ฯลฯ สรุปได้ว่าแม้รัฐจะ “บังคับ” ให้เรียน และมีแรงจูงใจ เช่น อาหารกลางวันฟรี ก็ตามทีแต่ความไม่สะดวก ความเบื่อหน่าย และสภาพเศรษฐกิจของครอบครัว เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เด็กและเยาวชนถอนตัวออกจากระบบ จากการสอบถามเบื้องต้นถึงความต้องการของเด็กนอกระบบการศึกษา พบว่ามีความต้องการในด้านทุนการศึกษา การฝึกอาชีพ การอุปถัมภ์ดูแลครอบครัว การช่วยเหลือด้านกฎหมาย การให้การคุ้มครองสิทธิต่างๆ การส่งบำบัดรักษา การย้ายไปยังพื้นที่นอกจังหวัดชายแดนภาคใต้ จากข้อมูลการสำรวจสถานการณ์เด็กนอกระบบจากกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา กสศ.ร่วมกับห้องเรียนกัมและสภาเด็กและเยาวชนในพื้นที่ตำบลสะเอะ จำนวน 109 คน พบว่าสาเหตุสำคัญร้อยละ 52.29 เกิดจากความยากจน 19.26 ถูกผลักออกจากนอกระบบ 14.67 ปัญหาครอบครัว 7.33 ไม่ได้รับสวัสดิการ ร้อยละ 4.58 ปัญหาสุขภาพมีความต้องการสนับสนุนทักษะทางสังคม ด้านการป้องกันปัญหายาเสพติดร้อยละ 45.87 ทักษะการจัดการอารมณ์ร้อยละ 4.36ทักษะสุขภาพทางเพศ 1.83 เด็กและเยาวชนที่หลุดจากระบบการศึกษา บางคนจะว่างงานใช้เวลากับการเล่นเกมส์ บางคนเข้าสู่แรงงานนอกระบบ เช่นแรงงานก่อสร้างแรงงานเกษตร ซึ่งจะมีเป็นช่วงๆ เด็กและเยาวชนขาดความรู้ในสุขลักษณะในการดูแลตนเอง การขาดความรู้ในช่วงเหตุวิกฤติสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด รวมถึงปัจจัยอื่นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาวะ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะดำเนินโครงการกิจกรรมนี้เพื่อส่งเสริมสุขภาวะของเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมสุขภาวะของเด็กและเยาวชน
  2. 2.เพื่อลดภาวะความเครียดและรู้จักการจัดการทางอารมณ์
  3. 3.เพิ่มพื้นที่การเรียนรู้ด้านสุขภาวะของเด็กและเยาวชนนอกระบบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมการประชุมวางแผนการดำเนินงาน
  2. 5.กิจกรรมสื่อเรียนรู้
  3. 2.กิจกรรมฝึกอบรมการดูแลสุขภาพและการจัดการอารมณ์
  4. 3.กิจกรรมทุุกมื้อให้ผักนำ เราทำได้
  5. 4.กิจกรรมรู้รอด ปลอดโควิด-19

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษาและกลุ่มแรงงานเยาวชนนอกระบบได้รับการดูแล 2.สามารถบรรเทาปัญหาภาวะความเครียดและการใช้เวลาอย่างมีคุณค่า 3.มีสุขลักษณะและสุขภาพจิตที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมสุขภาวะของเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด :
0.00 0.00

 

2 2.เพื่อลดภาวะความเครียดและรู้จักการจัดการทางอารมณ์
ตัวชี้วัด :
30.00 15.00

 

3 3.เพิ่มพื้นที่การเรียนรู้ด้านสุขภาวะของเด็กและเยาวชนนอกระบบ
ตัวชี้วัด : มีศูนย์เรียนรู้
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมสุขภาวะของเด็กและเยาวชน (2) 2.เพื่อลดภาวะความเครียดและรู้จักการจัดการทางอารมณ์ (3) 3.เพิ่มพื้นที่การเรียนรู้ด้านสุขภาวะของเด็กและเยาวชนนอกระบบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมการประชุมวางแผนการดำเนินงาน (2) 5.กิจกรรมสื่อเรียนรู้ (3) 2.กิจกรรมฝึกอบรมการดูแลสุขภาพและการจัดการอารมณ์ (4) 3.กิจกรรมทุุกมื้อให้ผักนำ เราทำได้ (5) 4.กิจกรรมรู้รอด ปลอดโควิด-19

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาวะเด็กนอกระบบในพื้นที่ตำบลสะเอะ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64 – L4114 -02-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลเราะมาน เทษา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด