กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ


“ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน ปี 2564 ”

ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวชิตชนก หนูรอด

ชื่อโครงการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3333-02-09 เลขที่ข้อตกลง 08/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 28 พฤษภาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน ปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3333-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2564 - 28 พฤษภาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,987.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พญ.พรรณพิมล วิปุลากร อธิบดีกรมอนามัย กล่าวถึงมาตรการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนว่า กระทรวงสาธารณสุข ได้ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย องค์การอนามัยโลกประจำประเทศไทย (WHO Thailand) องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) จัดทำคู่มือเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนของสถานศึกษา ตามที่องค์การเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติและองค์กรภาคี ได้เสนอกรอบแนวทาง 6 มิติ เชื่อมโยงกับมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด 19 ของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) (ศบค.) เพื่อคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัยของนักเรียน
โดย 6 มาตรการหลักในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในสถานศึกษาประกอบด้วย 1.มีมาตรการคัดกรองวัดไข้และอาการเสี่ยงก่อนเข้าสถานศึกษา 2.สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลา 3.จัดจุดล้างมือหรือเจลแอลกอฮอล์อย่างเพียงพอ 4.จัดระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1-2 เมตร 5.ทำความสะอาดห้องเรียน/พื้นผิวสัมผัสร่วม เปิดหน้าต่างประตู ระบายอากาศ
6.ไม่จัดกิจกรรมรวมกลุ่มคนจำนวนมาก เหลื่อมเวลา ลดเวลาทำกิจกรรม จาก 6 มาตรการหลักในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในสถานศึกษา ดังกล่าวข้างต้นทางโรงเรียนบ้านท่าเนียน ยังประสบปัญหาด้านงบประมาณในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ เพื่อใช้ในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ได้แก่ เครื่องวัดอุณหภูมิอินฟราเรดเจลแอลกอฮอล์ ที่กดเจลแบบเหยียบ หน้ากากอนามัยผ้า สายคล้องคอ อีกทั้งนักเรียนยังขาดความรู้และความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ที่ถูกต้อง ทางโรงเรียนบ้านท่าเนียน จึงจัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียนขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน มีความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโควิด 19 (COVID-19) และปฏิบัติตนได้ถูกต้องทั้งใน โรงเรียนและในการดำเนินชีวิตจริง
  2. เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 (COVID-19)
  3. เพื่อให้คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีความรู้ในการทำหน้ากากอนามัยผ้าและสามารถซ่อมแซมหน้ากากอนามัยผ้าเมื่อชำรุดได้ด้วยตนเอง
  4. เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณ์ เพียงพอต่อการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิค 19 ให้กับคณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียนบ้านท่าเนียน และผู้มาติดต่อราชการในสถานศึกษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. กิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 29
กลุ่มวัยทำงาน 6
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนได้รับความรู้จากการอบรมจากวิทยากร เรื่อง โรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 และสุขบัญญัติ ๑๐ ประการ
  2. นักเรียนสามารถทำหน้ากากอนามัยผ้าได้และสามารถซ่อมแซมหน้ากากอนามัยผ้าเมื่อชำรุดได้ด้วยตนเอง
  3. นักเรียนมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพป้องกันโรคโควิด 19 ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  4. นักเรียนนำความรู้ไปเผยแพร่แก่ผู้ปกครองและบุคคลในครอบครัวได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. นักเรียนได้รับความรู้จากการอบรมจากวิทยากร เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 และสุขบัญญัติ 10 ประการ
  2. นักเรียนสามารถทำหน้ากากอนามัยผ้าได้และสามารถซ่อมแซมหน้ากากอนามัยผ้าเมื่อชำรุดได้ด้วยตนเอง 3.นักเรียนมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพป้องกันโรคโควิด 19 ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  3. นักเรียนนำความรู้ไปเผยแพร่แก่ผู้ปกครองและบุคคลในครอบครัวได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน มีความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโควิด 19 (COVID-19) และปฏิบัติตนได้ถูกต้องทั้งใน โรงเรียนและในการดำเนินชีวิตจริง
ตัวชี้วัด : คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียนบ้านท่าเนียน จำนวน 35 คน มีความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโควิด 19 (COVID-19) และปฏิบัติตนได้ถูกต้องทั้งใน โรงเรียนและในการดำเนินชีวิตจริง
0.00

 

2 เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียนบ้านท่าเนียน จำนวน 35 คน มีความตระหนัก ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 2019 (COVID-19)
0.00

 

3 เพื่อให้คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีความรู้ในการทำหน้ากากอนามัยผ้าและสามารถซ่อมแซมหน้ากากอนามัยผ้าเมื่อชำรุดได้ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียนบ้านท่าเนียน จำนวน 35 คน มีความรู้ในการทำหน้ากากอนามัยผ้าและสามารถซ่อมแซมหน้ากากอนามัยผ้าเมื่อชำรุดได้ด้วยตนเอง
0.00

 

4 เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณ์ เพียงพอต่อการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิค 19 ให้กับคณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียนบ้านท่าเนียน และผู้มาติดต่อราชการในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน จำนวน 35 คน มีวัสดุ อุปกรณ์ เพียงพอต่อการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 อีกทั้งยังเพียงพอต่อการรองรับผู้มาติดต่อราชการในสถานศึกษา
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 29
กลุ่มวัยทำงาน 6
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน มีความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโควิด 19 (COVID-19) และปฏิบัติตนได้ถูกต้องทั้งใน โรงเรียนและในการดำเนินชีวิตจริง (2) เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 (COVID-19) (3) เพื่อให้คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีความรู้ในการทำหน้ากากอนามัยผ้าและสามารถซ่อมแซมหน้ากากอนามัยผ้าเมื่อชำรุดได้ด้วยตนเอง (4) เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณ์ เพียงพอต่อการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิค 19 ให้กับคณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียนบ้านท่าเนียน และผู้มาติดต่อราชการในสถานศึกษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน ปี 2564 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3333-02-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวชิตชนก หนูรอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด