กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการชุมชนนาแคร่วมกันป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางจิราภรณ์ พรหมเมศว์

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนนาแคร่วมกันป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-64-2-21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนนาแคร่วมกันป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนนาแคร่วมกันป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนนาแคร่วมกันป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-64-2-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,190.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหายาเสพติด เป็นปัญหาความมั่นคงที่ส่งผลกระทบต่อการบริหารและการพัฒนาประเทศทั้งในพื้นที่หมู่บ้าน ชุมชน ทั้งปัญหาทางด้านสังคม เศรษฐกิจ สาธารณสุข และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การติดยาเสพติดเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อภาวะสุขภาพ ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน และอาจก่อให้เกิดความเสียหายร้ายแรงต่อสังคมและประเทศชาติ มีการคาดการณ์แนวโน้มว่าจำนวนผู้เสพ ผู้ติดสารเสพติดจะเพิ่มขึ้นตามสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับปัญหาเศรษฐกิจ การศึกษาโครงการสร้างและสัมพันธภาพของครอบครัว การเลี้ยงดู ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีต่าง ๆ ซึ่งปัญหาอาชญากรรมหลายประเภทที่เกิดขึ้น เช่น คดีข่มขืน ฆ่า ลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ทำร้ายร่างกาย เป็นต้น ผู้ก่อเหตุในหลายคดีเป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ไม่ว่าจะในฐานะเป็นผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้เสพ หรือผู้ที่สนับสนุนอยู่เบื้องหลัง ผลกระทบที่เกิดจากยาเสพติดเป็นตัวบ่อนทำลายความสงบสุขของประชาชนในการดำรงชีวิตอย่างปกติสุข การดำเนินการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน โดยการเสริมสร้างให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งเข้าใจและรับรู้ปัญหาพิษภัยที่เกิดขึ้นจากยาเสพติดที่มีผลกระทบต่อตนเอง ในปัจจุบันถือว่าการเสพติดคือการเจ็บป่วย แนวทางการช่วยเหลือบำบัดรักษาทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพย่อมส่งผลถึงการแก้ไขปัญหาได้อย่างไรก็ตามปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่ซับซ้อนมีความสัมพันธ์กับปัญหาอื่น ๆ หลายด้าน เช่น ปัญหาสังคม เศรษฐกิจ การศึกษา ซึ่งเป็นทั้งสาเหตุและผลกระทบที่เกิดขึ้น ดังนั้นการบำบัดรักษาและการช่วยเหลือผู้ติดสารเสพติดย่อมต้องพิจารณาหลายมิติแบบองค์รวม โดยเฉพาะมิติด้านสังคม ซึ่งพบว่าผู้เสพที่ผ่านการบำบัดนั้นขาดภูมิคุ้มกันทางใจ ขาดความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ จึงกลับไปใช้ยาเสพติดซ้ำ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 5 บ้านนาแค จึงได้จัดทำโครงการชุมชนนาแคร่วมกันป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจรขึ้น เพื่อให้ผู้ผ่านการบำบัดมีพลังในการดำเนินชีวิต และอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างสงบสุข เพื่อนำไปสู่ชุมชนเข้มแข็ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มอัตราการเข้าถึงระบบการบำบัดรักษาภาครัฐของผู้เสพและผู้ติด
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ผ่านการบำบัดและกลับมาใช้ชีวิตเป็นปกติในชุมชน
  3. เพื่อเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
  4. เพื่อลดอัตราการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชน
  5. เพื่อเพิ่มมาตรการทางสังคม หรือแนวทางปฏิบัติในเชิงนโยบายของชุมชน หรือการสร้างข้อตกลงร่วมในการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
  6. เพื่อเพิ่มกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แกนนำในการดำเนินโครงการ ร่วมกันค้นหา คัดกรองในชุมชน แบบระบุตัวตนของผู้เสพผู้ติดยาเสพติด
  2. จัดอบรมให้ความรู้และหาแนวทางให้ที่ผู้ผ่านการบำบัดและสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 373
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ชุมชนเกิดความเข้มแข็งเข้าใจและรับรู้ปัญหาพิษภัยที่เกิดขึ้นจากยาเสพติดที่มีผลกระทบต่อตนเองและสังคม และสามารถหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาป้องกันไม่ ให้เกิดผู้เสพยาเสพติดรายใหม่ และลดการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัด ทำให้ผู้ผ่านการบำบัดมีพลังในการดำเนินชีวิต และอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างสงบสุข เพื่อนำไปสู่ชุมชนเข้มแข็ง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. แกนนำในการดำเนินโครงการ ร่วมกันค้นหา คัดกรองในชุมชน แบบระบุตัวตนของผู้เสพผู้ติดยาเสพติด

วันที่ 20 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานตามโครงการและหน้าที่รับผิดชอบ
  2. ประชุมชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้องเรื่องการดำเนินโครงการ
  3. ประชุมแกนนำในการดำเนินโครงการ เพื่อแบ่งเขตการลงพื้นที่ จำนวน 4 เขต ดังนี้ เขตที่ 1 นาแครวมใจ (โซนหน้าเขาถึงวังระย้า)       เขตที่ 2 นาแคก้าวหน้า (โซนหลัง รพ.สต.คลองขุดถึงศาลาอเนกประสงค์)       เขตที่ 3 นาแคยั่งยืน (โซนศาลาอเนกประสงค์ถึงโรงเรียนบ้านนาแค)       เขตที่ 4 นาแคมั่นคง (โซนโรงเรียนบ้านนาแคถึงท่าเรือ)
  4. แกนนำในการดำเนินโครงการ ร่วมกันค้นหา คัดกรองในชุมชน แบบระบุตัวตนของผู้เสพผู้ติดยาเสพติด
  5. แกนนำในการดำเนินโครงการ ลงพื้นที่ติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน มีการตรวจสารเสพติดในร่างกาย ทุก ๆ  15 วัน ตามเขตพื้นที่ และบำบัดกลุ่มเสี่ยงด้วยการโน้มน้าวจิตใจ ศาสนาบำบัด กีฬาบำบัด พื้นที่ละ  4 เขต ๆ ละ 4 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนมีมาตรการในการป้องกัน แก้ไข และบำบัดยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

 

0 0

2. จัดอบรมให้ความรู้และหาแนวทางให้ที่ผู้ผ่านการบำบัดและสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม

วันที่ 20 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดอบรมให้ความรู้และหาแนวทางให้ที่ผู้ผ่านการบำบัดและสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ สร้างภูมิคุ้มกันทางใจ และมีทักษะในการประกอบอาชีพ เพื่อป้องกันการกลับไปใช้ยาเสพติดซ้ำ
  2. ประชุมแกนนำในการดำเนินโครงการสรุปผลการดำเนินงานและปัญหาที่พบ เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 3 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1.อัตราการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชนลดลงเหลือร้อยละ 50 ผลลัพธ์ ชุมชนเกิดความเข้มแข็งเข้าใจและรับรู้ปัญหาพิษภัยที่เกิดขึ้นจากยาเสพติดที่มีผลกระทบต่อตนเองและสังคม และสามารถหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาป้องกันไม่ให้เกิดผู้เสพยาเสพติดรายใหม่ และลดการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัด ทำให้ผู้ผ่านการบำบัดมีพลังในการดำเนินชีวิต และอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างสงบสุข เพื่อนำไปสู่ชุมชนเข้มแข็ง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการชุมชนนาแคร่วมกันป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร ได้จัดกิจกรรมดังนี้ 1.ประชุมชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้องเรื่องการดำเนินโครงการ ในวันที่ 20 กรกฎาคม 2564 2.ประชุมแกนนำในการดำเนินโครงการ เพื่อแบ่งเขตการลงพื้นที่ จำนวน 4 เขต ดังนี้ เขตที่ 1 นาแครวมใจ (โซนหน้าเขาถึงวังระย้า)
  เขตที่ 2 นาแคก้าวหน้า (โซนหลัง รพ.สต.คลองขุดถึงศาลาอเนกประสงค์)   เขตที่ 3 นาแคยั่งยืน (โซนศาลาอเนกประสงค์ถึงโรงเรียนบ้านนาแค)   เขตที่ 4 นาแคมั่นคง (โซนโรงเรียนบ้านนาแคถึงท่าเรือ) โดยจัดกิจกรรมในวันที่ 25 กรกฎาคม 2564 3.แกนนำในการดำเนินโครงการ ร่วมกันค้นหา คัดกรองในชุมชน แบบระบุตัวตนของผู้เสพผู้ติดยาเสพติด จัดกิจกรรมในวันที่ 30 กรกาคม 2564 4.แกนนำในการดำเนินโครงการ ลงพื้นที่ติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน มีการตรวจสารเสพติดในร่างกาย ทุก ๆ 15 วัน ตามเขตพื้นที่ และบำบัดกลุ่มเสี่ยงด้วยการโน้มน้าวจิตใจ ศาสนาบำบัด กีฬาบำบัด พื้นที่ละ 4 เขต ๆ ละ 4 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 วันที่ 3 สิงหาคม 2564 ครั้งที่ 2 วันที่ 5 สิงหาคม 2564 ครั้งที่ 3 วันที่ 7 สิงหาคม 2564 ครั้งที่ 4 วันที่ 9 สิงหาคม 2564 ครั้งที่ 5 วันที่ 16 สิงหาคม 2564 ครั้งที่ 6 วันที่ 18 สิงหาคม 2564 ครั้งที่ 7 วันที่ 20 สิงหาคม 2564 ครั้งที่ 8 วันที่ 22 สิงหาคม 2564 ครั้งที่ 9 วันที่ 29 สิงหาคม 2564 ครั้งที่ 10 วันที่ 1 กันยายน 2564 ครั้งที่ 11 วันที่ 3 กันยายน 2564 ครั้งที่ 12 วันที่ 5 กันยายน 2564 ครั้งที่ 13 วันที่ 12 กันยายน 2564 ครั้งที่ 14 วันที่ 14 กันยายน 2564 ครั้งที่ 15 วันที่ 16 กันยายน 2564 ครั้งที่ 16 วันที่ 18 กันยายน 2564 5.จัดอบรมให้ความรู้และหาแนวทางให้ที่ผู้ผ่านการบำบัดและสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ สร้างภูมิคุ้มกันทางใจ และมีทักษะในการประกอบอาชีพ เพื่อป้องกันการกลับไปใช้ยาเสพติดซ้ำ โดยจัดกิจกรรมในวันที่ 17 สิงหาคม 2564

โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย -ประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาแค จำนวน 373 หลังคาเรือน - แกนนำในการดำเนินโครงการ ประกอบด้วย อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 5 บ้านนาแค ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่ตำรวจ ผู้นำศาสนา จำนวน 40 คน
- ผู้ที่ผ่านการบำบัดและสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 33 คน ซึ่งผลที่ได้จากการดำเนินโครงการ ทำให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งเข้าใจและรับรู้ปัญหาพิษภัยที่เกิดขึ้นจากยาเสพติดที่มีผลกระทบต่อตนเองและสังคม และสามารถหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาป้องกันไม่ให้เกิดผู้เสพยาเสพติดรายใหม่ และลดการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัด ทำให้ผู้ผ่านการบำบัดมีพลังในการดำเนินชีวิต และอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างสงบสุข เพื่อนำไปสู่ชุมชนเข้มแข็ง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มอัตราการเข้าถึงระบบการบำบัดรักษาภาครัฐของผู้เสพและผู้ติด
ตัวชี้วัด : อัตราการเข้าถึงระบบการบำบัดรักษาภาครัฐของผู้เสพและผู้ติดในชุมชนเป็นไปอย่างทั่วถึงเพิ่มมากขึ้น(ร้อยละ)
4.00 90.00 90.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ผ่านการบำบัดและกลับมาใช้ชีวิตเป็นปกติในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ที่ผ่านการบำบัดและกลับมาใช้ชีวิตเป็นปกติในชุมชน เพิ่มขึ้นเป็น(คน)
3.00 33.00 33.00

 

3 เพื่อเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
ตัวชี้วัด : กำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน เพิ่มขึ้นเป็น(คน)
5.00 36.00 36.00

 

4 เพื่อลดอัตราการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชน
ตัวชี้วัด : อัตราการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชนลดลงเหลือ(ร้อยละ)
90.00 50.00 50.00

 

5 เพื่อเพิ่มมาตรการทางสังคม หรือแนวทางปฏิบัติในเชิงนโยบายของชุมชน หรือการสร้างข้อตกลงร่วมในการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
ตัวชี้วัด : มาตรการทางสังคม หรือแนวทางปฏิบัติในเชิงนโยบายของชุมชน หรือการสร้างข้อตกลงร่วมในการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนเพิ่มขึ้นเป็น (มาตราการ)
0.00 1.00 1.00

 

6 เพื่อเพิ่มกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ
ตัวชี้วัด : กิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำเพิ่มขึ้นเป็น(กิจกรรม)
0.00 1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 373 373
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 373 373
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มอัตราการเข้าถึงระบบการบำบัดรักษาภาครัฐของผู้เสพและผู้ติด (2) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ผ่านการบำบัดและกลับมาใช้ชีวิตเป็นปกติในชุมชน (3) เพื่อเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน (4) เพื่อลดอัตราการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชน (5) เพื่อเพิ่มมาตรการทางสังคม หรือแนวทางปฏิบัติในเชิงนโยบายของชุมชน หรือการสร้างข้อตกลงร่วมในการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน (6) เพื่อเพิ่มกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แกนนำในการดำเนินโครงการ ร่วมกันค้นหา คัดกรองในชุมชน แบบระบุตัวตนของผู้เสพผู้ติดยาเสพติด (2) จัดอบรมให้ความรู้และหาแนวทางให้ที่ผู้ผ่านการบำบัดและสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนนาแคร่วมกันป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-64-2-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจิราภรณ์ พรหมเมศว์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด