โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2564 ”
จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางจินดาพัฒน์ แม่ลิ่ม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก
สิงหาคม 2564
ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2564
ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3330-1-12 เลขที่ข้อตกลง 12/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 สิงหาคม 2564 ถึง 20 สิงหาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3330-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 สิงหาคม 2564 - 20 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,075.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์โควิดระลอกใหม่ที่กำลังเกิดขึ้นเชื่อว่าส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตของคนทั่วๆไปมากกว่าในระลอก2 ที่เกิดขึ้นเมื่อช่วงปลายปีที่ผ่านมา ทั้งจากลักษณะของเชื้อที่ระบาดได้ง่ายขึ้น จำนวนยอดผู้ติดเชื้อที่เพิ่มสูงขึ้น รวมถึงคนใกล้ตัวหรือคนรู้จักจำนวนมากขึ้นที่ตกเป็นเหยื่อของโควิดในครั้งนี้ ประกอบกับความไม่แน่นอนของโอกาสที่จะได้รับฉีดวัคซีน ก็ทำให้หลายๆ ท่าน (หรือคนใกล้ตัวท่าน) เกิดทั้งอาการกลัว วิตกกังวล จนถึงขั้นตื่นตกใจขึ้นมาได้ความน่ากลัวของโควิดนั้นนอกจากตัวเชื้อโรคที่ส่งผลต่อสุขภาพกายแล้ว ความไม่แน่นอนที่มาจากโควิดก็ยังส่งผลต่อสุขภาพจิตอีกด้วย ความไม่แน่นอนดังกล่าวครอบคลุม ทั้งความไม่แน่นอนว่าตนเองหรือคนในครอบครัวจะได้รับเชื้อโรคมาโดยไม่รู้ตัวหรือไม่ ความไม่แน่นอนว่าถ้ารับเชื้อมาแล้วอาการจะเป็นอย่างไร ความไม่แน่นอนว่าถ้าติดเชื้อมาจะมีโรงพยาบาลรับรักษาหรือไม่ ความไม่แน่นอนเกี่ยวกับแผนการต่างๆ ที่ได้วางไว้ล่วงหน้า (แผนการเรียน การทำงาน ท่องเที่ยว สังสรรค์ ฯลฯ) ความไม่แน่นอนเกี่ยวกับการจะได้รับวัคซีน ความไม่แน่นอนในภาวะเศรษฐกิจ ความไม่แน่นอนว่าตนเองจะมีงานและรายได้หรือไม่ ฯลฯ “ความไม่แน่นอน” (Uncertainty) ที่เกิดขึ้นเนื่องจากโควิดนั้น อาจจะพบว่าร้ายกาจพอๆกับเจ้าตัวไวรัสโควิดเอง เพียงแต่แทนที่จะส่งผลต่อสุขภาพกาย ก็จะส่งผลต่อสุขภาพจิตแทน เนื่องจากความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นจะไปกระตุ้นความหวาดกลัว (Fear) ในสมองของคน ซึ่งความกลัวก็เป็นหนึ่งในอารมณ์พื้นฐานของคนและเมื่อเราเผชิญกับความกลัว คนก็จะมีปฏิกิริยาที่จะปรับพฤติกรรมหรือปรับตัวเพื่อหลบเลี่ยงจากความกลัวดังกล่าวที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอย่างไรก็ดี เมื่อความกลัวที่เกิดขึ้นมาจากความไม่แน่นอน และเป็นความไม่แน่นอนที่มีปริมาณมาก ก็จะนำไปสู่ความวิตกกังวล หรือ Anxiety ที่จะส่งผลสุขภาพจิตโดยตรง และที่น่ากลัวคือการแพร่กระจายของข้อมูลต่างๆ บนโลกสังคมออนไลน์ ที่เมื่อเปิดเข้าไปอ่านข้อความหรือข้อมูลต่างๆ ในช่วงนี้ก็มักจะมีแต่เรื่องราวที่เกี่ยวเนื่องกับโควิด ซึ่งถึงแม้ผู้โพสต์ข้อความจะมีเจตนาดีที่จะกระจายข้อมูลข่าวสารให้ผู้อื่นได้รับรู้ แต่เมื่อผู้รับสารต้องเผชิญกับความไม่แน่นอนจากโควิด มีความกลัวและความวิตกกังวลเป็นทุนเดิม ก็ยิ่งทำให้ข้อมูลข่าวสารต่างๆที่ได้รับนั้นกลายเป็นการตอกย้ำและทำให้ความวิตกกังวลแพร่กระจายไปในวงกว้างมากขึ้น และสามารถที่จะนำไปสู่ความตื่นตกใจในสังคมวงกว้างส่งผลกระทบให้คนในสังคมที่ร่วมกันต่อสู้กับภาวะวิกฤติการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เกิดขึ้นมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน มีโอกาสเกิดความกดดัน ความเครียดและความวิตกกังวลส่งผลต่อสุขภาพจิตของคนไทยเป็นจำนวนมาก
จากการคัดกรองภาวะเครียดและซึมเศร้า พบว่าในประชาชนกลุ่มเสี่ยงไม่ว่าจะเป็นกลุ่มวัยทำงานกลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากโรคประจำตัว การเบื่อหน่ายชีวิตการถูกทอดทิ้ง การเกิดโรคระบาดไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดภาวะเครียดและซึมเศร้าตามมาโดยในปี 2560 ฆ่าตัวตายสำเร็จ 1 ราย และในปี 2563 ฆ่าตัวตามสำเร็จ 2 รายประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีภาวะเครียดและซึมเศร้ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสนจึงได้จัดทำโครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13ตำบลโคกสักอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2564 ขึ้นโดยการสร้างแกนนำสุขภาพจิตในชุมชนเพื่อช่วยดูแลติดตามคัดกรองภาวะเครียดและซึมเศร้าในชุมชนและต้องมีการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตอย่างเร่งด่วนโดยอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วนในทุกเขตสุขภาพเพื่อเตรียมความพร้อมการเข้าสู่คลื่นลูกที่4ภายใต้“แผนการฟื้นฟูจิตใจในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อมุ่งเน้นให้ประชาชน ครอบครัว และชุมชน ปลอดภัยจากผลกระทบด้านสุขภาพจิตในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นี้และมีความเข้มแข็งทางจิตใจเต็มเปี่ยมด้วยพลังสามารถปรับตัวเข้าสู่ชีวิต วิถีใหม่ (New Normal) ได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้แกนนำสุขภาพจิตมีความรู้และแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง
- เพื่อให้แกนนำสามารถสำรวจคัดกรองผู้มีภาวะซึมเศร้าประชาชนกลุ่มเสี่ยง
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะเครียดและซึมเศร้าได้รับการส่งต่อที่ถูกต้องเหมะสม
- เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า
- เพื่อประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการของประชาชนกลุ่มเสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำสุขภาพจิต โดยมีการทำแบบประเมินทางสุขภาพจิตชุมชนเช่น ดัชนีชี้วัดความสุขคนไทย แบบประเมินความเครียด แบบประเมินโรคซึมเศร้า และแบบประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายและ แบบคัดกรองโรคจิต
- กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนงานสุขภาพจิตในประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดยมีการทำแบบประเมินความเครียด และ แบบประเมินโรคซึมเศร้าแก่ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 100 คน มีการประชุม 2 รุ่น รุ่นละ 50 คน
- ติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่พบว่าผลผิดปกติจากการคัดกรองในชุมชนร่วมกับแกนนำสุขภาพจิต อสม.และอปท.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ดำเนินการ/ผู้จัดการประชุม
4
แกนนำสุขภาพจิต
50
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.แกนนำสุขภาพจิตมีความรู้และแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง
2. แกนนำสามารถสำรวจคัดกรองผู้มีภาวะซึมเศร้าประชาชนกลุ่มเสี่ยง
3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะเครียดและซึมเศร้าได้รับการส่งต่อที่ถูกต้องเหมะสม
4. ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในชุมชน
5. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการร้อยละ100
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนงานสุขภาพจิตในประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดยมีการทำแบบประเมินความเครียด และ แบบประเมินโรคซึมเศร้าแก่ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 100 คน มีการประชุม 2 รุ่น รุ่นละ 50 คน
วันที่ 19 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนงานสุขภาพจิตในประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดยมีการทำแบบประเมินความเครียด และ แบบประเมินโรคซึมเศร้าแก่ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 100 คน มีการประชุม 2 รุ่น รุ่นละ 50 คน ผู้ดำเนินการ / ผู้จัดประชุม 4 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output) จัดกิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานสุขภาพจิต ในประชาชนกลุ่มเสี่ยง จำนวน 2 รุ่น ๆละ54 คน
ผลลัพธ์ (Outcome) 1.ประชาชนมีความรู้ พฤติกรรมสุขภาพจิตที่พึงประสงค์ และได้รับการคัดกรองภาวะความเครียดและซึงเศร้า ร้อยละ 80
2. ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในชุมชน
3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ
54
0
2. กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำสุขภาพจิต โดยมีการทำแบบประเมินทางสุขภาพจิตชุมชนเช่น ดัชนีชี้วัดความสุขคนไทย แบบประเมินความเครียด แบบประเมินโรคซึมเศร้า และแบบประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายและ แบบคัดกรองโรคจิต
วันที่ 13 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำสุขภาพจิต โดยมีการทำแบบประเมินทางสุขภาพจิตชุมชนเช่น ดัชนีชี้วัดความสุขคนไทย แบบประเมินความเครียด แบบประเมินโรคซึมเศร้า และแบบประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายและ แบบคัดกรองโรคจิต
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output) แกนนำสุขภาพจิต/ผู้ดำเนินการ เข้าร่วมประชุม จำนวน 54 คน
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. แกนนำสุขภาพจิตมีความรู้และ แนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง 2. แกนนำสุขภาพจิต สามารถสำรวจและคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะซึมเศร้า
54
0
3. ติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่พบว่าผลผิดปกติจากการคัดกรองในชุมชนร่วมกับแกนนำสุขภาพจิต อสม.และอปท.
วันที่ 14 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้แกนนำสุขภาพจิตมีความรู้และแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
0.00
2
เพื่อให้แกนนำสามารถสำรวจคัดกรองผู้มีภาวะซึมเศร้าประชาชนกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ประเมินผลจากแบบทดสอบก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
0.00
3
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะเครียดและซึมเศร้าได้รับการส่งต่อที่ถูกต้องเหมะสม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยได้รับการคัดกรองสุขภาพจิตที่มีปัญหาได้รับการเข้าถึงบริการรักษาและส่งต่อทุกราย
0.00
4
เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในชุมชน
0.00
5
เพื่อประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการของประชาชนกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการร้อยละ100
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
154
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ผู้ดำเนินการ/ผู้จัดการประชุม
4
แกนนำสุขภาพจิต
50
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำสุขภาพจิตมีความรู้และแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้แกนนำสามารถสำรวจคัดกรองผู้มีภาวะซึมเศร้าประชาชนกลุ่มเสี่ยง (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะเครียดและซึมเศร้าได้รับการส่งต่อที่ถูกต้องเหมะสม (4) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า (5) เพื่อประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการของประชาชนกลุ่มเสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำสุขภาพจิต โดยมีการทำแบบประเมินทางสุขภาพจิตชุมชนเช่น ดัชนีชี้วัดความสุขคนไทย แบบประเมินความเครียด แบบประเมินโรคซึมเศร้า และแบบประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายและ แบบคัดกรองโรคจิต (2) กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนงานสุขภาพจิตในประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดยมีการทำแบบประเมินความเครียด และ แบบประเมินโรคซึมเศร้าแก่ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 100 คน มีการประชุม 2 รุ่น รุ่นละ 50 คน (3) ติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่พบว่าผลผิดปกติจากการคัดกรองในชุมชนร่วมกับแกนนำสุขภาพจิต อสม.และอปท.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2564 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3330-1-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจินดาพัฒน์ แม่ลิ่ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2564 ”
จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางจินดาพัฒน์ แม่ลิ่ม
สิงหาคม 2564
ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3330-1-12 เลขที่ข้อตกลง 12/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 สิงหาคม 2564 ถึง 20 สิงหาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3330-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 สิงหาคม 2564 - 20 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,075.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์โควิดระลอกใหม่ที่กำลังเกิดขึ้นเชื่อว่าส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตของคนทั่วๆไปมากกว่าในระลอก2 ที่เกิดขึ้นเมื่อช่วงปลายปีที่ผ่านมา ทั้งจากลักษณะของเชื้อที่ระบาดได้ง่ายขึ้น จำนวนยอดผู้ติดเชื้อที่เพิ่มสูงขึ้น รวมถึงคนใกล้ตัวหรือคนรู้จักจำนวนมากขึ้นที่ตกเป็นเหยื่อของโควิดในครั้งนี้ ประกอบกับความไม่แน่นอนของโอกาสที่จะได้รับฉีดวัคซีน ก็ทำให้หลายๆ ท่าน (หรือคนใกล้ตัวท่าน) เกิดทั้งอาการกลัว วิตกกังวล จนถึงขั้นตื่นตกใจขึ้นมาได้ความน่ากลัวของโควิดนั้นนอกจากตัวเชื้อโรคที่ส่งผลต่อสุขภาพกายแล้ว ความไม่แน่นอนที่มาจากโควิดก็ยังส่งผลต่อสุขภาพจิตอีกด้วย ความไม่แน่นอนดังกล่าวครอบคลุม ทั้งความไม่แน่นอนว่าตนเองหรือคนในครอบครัวจะได้รับเชื้อโรคมาโดยไม่รู้ตัวหรือไม่ ความไม่แน่นอนว่าถ้ารับเชื้อมาแล้วอาการจะเป็นอย่างไร ความไม่แน่นอนว่าถ้าติดเชื้อมาจะมีโรงพยาบาลรับรักษาหรือไม่ ความไม่แน่นอนเกี่ยวกับแผนการต่างๆ ที่ได้วางไว้ล่วงหน้า (แผนการเรียน การทำงาน ท่องเที่ยว สังสรรค์ ฯลฯ) ความไม่แน่นอนเกี่ยวกับการจะได้รับวัคซีน ความไม่แน่นอนในภาวะเศรษฐกิจ ความไม่แน่นอนว่าตนเองจะมีงานและรายได้หรือไม่ ฯลฯ “ความไม่แน่นอน” (Uncertainty) ที่เกิดขึ้นเนื่องจากโควิดนั้น อาจจะพบว่าร้ายกาจพอๆกับเจ้าตัวไวรัสโควิดเอง เพียงแต่แทนที่จะส่งผลต่อสุขภาพกาย ก็จะส่งผลต่อสุขภาพจิตแทน เนื่องจากความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นจะไปกระตุ้นความหวาดกลัว (Fear) ในสมองของคน ซึ่งความกลัวก็เป็นหนึ่งในอารมณ์พื้นฐานของคนและเมื่อเราเผชิญกับความกลัว คนก็จะมีปฏิกิริยาที่จะปรับพฤติกรรมหรือปรับตัวเพื่อหลบเลี่ยงจากความกลัวดังกล่าวที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอย่างไรก็ดี เมื่อความกลัวที่เกิดขึ้นมาจากความไม่แน่นอน และเป็นความไม่แน่นอนที่มีปริมาณมาก ก็จะนำไปสู่ความวิตกกังวล หรือ Anxiety ที่จะส่งผลสุขภาพจิตโดยตรง และที่น่ากลัวคือการแพร่กระจายของข้อมูลต่างๆ บนโลกสังคมออนไลน์ ที่เมื่อเปิดเข้าไปอ่านข้อความหรือข้อมูลต่างๆ ในช่วงนี้ก็มักจะมีแต่เรื่องราวที่เกี่ยวเนื่องกับโควิด ซึ่งถึงแม้ผู้โพสต์ข้อความจะมีเจตนาดีที่จะกระจายข้อมูลข่าวสารให้ผู้อื่นได้รับรู้ แต่เมื่อผู้รับสารต้องเผชิญกับความไม่แน่นอนจากโควิด มีความกลัวและความวิตกกังวลเป็นทุนเดิม ก็ยิ่งทำให้ข้อมูลข่าวสารต่างๆที่ได้รับนั้นกลายเป็นการตอกย้ำและทำให้ความวิตกกังวลแพร่กระจายไปในวงกว้างมากขึ้น และสามารถที่จะนำไปสู่ความตื่นตกใจในสังคมวงกว้างส่งผลกระทบให้คนในสังคมที่ร่วมกันต่อสู้กับภาวะวิกฤติการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เกิดขึ้นมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน มีโอกาสเกิดความกดดัน ความเครียดและความวิตกกังวลส่งผลต่อสุขภาพจิตของคนไทยเป็นจำนวนมาก
จากการคัดกรองภาวะเครียดและซึมเศร้า พบว่าในประชาชนกลุ่มเสี่ยงไม่ว่าจะเป็นกลุ่มวัยทำงานกลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากโรคประจำตัว การเบื่อหน่ายชีวิตการถูกทอดทิ้ง การเกิดโรคระบาดไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดภาวะเครียดและซึมเศร้าตามมาโดยในปี 2560 ฆ่าตัวตายสำเร็จ 1 ราย และในปี 2563 ฆ่าตัวตามสำเร็จ 2 รายประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีภาวะเครียดและซึมเศร้ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสนจึงได้จัดทำโครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13ตำบลโคกสักอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2564 ขึ้นโดยการสร้างแกนนำสุขภาพจิตในชุมชนเพื่อช่วยดูแลติดตามคัดกรองภาวะเครียดและซึมเศร้าในชุมชนและต้องมีการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตอย่างเร่งด่วนโดยอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วนในทุกเขตสุขภาพเพื่อเตรียมความพร้อมการเข้าสู่คลื่นลูกที่4ภายใต้“แผนการฟื้นฟูจิตใจในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อมุ่งเน้นให้ประชาชน ครอบครัว และชุมชน ปลอดภัยจากผลกระทบด้านสุขภาพจิตในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นี้และมีความเข้มแข็งทางจิตใจเต็มเปี่ยมด้วยพลังสามารถปรับตัวเข้าสู่ชีวิต วิถีใหม่ (New Normal) ได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้แกนนำสุขภาพจิตมีความรู้และแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง
- เพื่อให้แกนนำสามารถสำรวจคัดกรองผู้มีภาวะซึมเศร้าประชาชนกลุ่มเสี่ยง
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะเครียดและซึมเศร้าได้รับการส่งต่อที่ถูกต้องเหมะสม
- เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า
- เพื่อประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการของประชาชนกลุ่มเสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำสุขภาพจิต โดยมีการทำแบบประเมินทางสุขภาพจิตชุมชนเช่น ดัชนีชี้วัดความสุขคนไทย แบบประเมินความเครียด แบบประเมินโรคซึมเศร้า และแบบประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายและ แบบคัดกรองโรคจิต
- กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนงานสุขภาพจิตในประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดยมีการทำแบบประเมินความเครียด และ แบบประเมินโรคซึมเศร้าแก่ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 100 คน มีการประชุม 2 รุ่น รุ่นละ 50 คน
- ติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่พบว่าผลผิดปกติจากการคัดกรองในชุมชนร่วมกับแกนนำสุขภาพจิต อสม.และอปท.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ผู้ดำเนินการ/ผู้จัดการประชุม | 4 | |
แกนนำสุขภาพจิต | 50 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.แกนนำสุขภาพจิตมีความรู้และแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง 2. แกนนำสามารถสำรวจคัดกรองผู้มีภาวะซึมเศร้าประชาชนกลุ่มเสี่ยง 3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะเครียดและซึมเศร้าได้รับการส่งต่อที่ถูกต้องเหมะสม 4. ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในชุมชน 5. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการร้อยละ100
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนงานสุขภาพจิตในประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดยมีการทำแบบประเมินความเครียด และ แบบประเมินโรคซึมเศร้าแก่ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 100 คน มีการประชุม 2 รุ่น รุ่นละ 50 คน |
||
วันที่ 19 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำกิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนงานสุขภาพจิตในประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดยมีการทำแบบประเมินความเครียด และ แบบประเมินโรคซึมเศร้าแก่ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 100 คน มีการประชุม 2 รุ่น รุ่นละ 50 คน ผู้ดำเนินการ / ผู้จัดประชุม 4 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) จัดกิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานสุขภาพจิต ในประชาชนกลุ่มเสี่ยง จำนวน 2 รุ่น ๆละ54 คน
|
54 | 0 |
2. กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำสุขภาพจิต โดยมีการทำแบบประเมินทางสุขภาพจิตชุมชนเช่น ดัชนีชี้วัดความสุขคนไทย แบบประเมินความเครียด แบบประเมินโรคซึมเศร้า และแบบประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายและ แบบคัดกรองโรคจิต |
||
วันที่ 13 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำกิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำสุขภาพจิต โดยมีการทำแบบประเมินทางสุขภาพจิตชุมชนเช่น ดัชนีชี้วัดความสุขคนไทย แบบประเมินความเครียด แบบประเมินโรคซึมเศร้า และแบบประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายและ แบบคัดกรองโรคจิต ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) แกนนำสุขภาพจิต/ผู้ดำเนินการ เข้าร่วมประชุม จำนวน 54 คน
|
54 | 0 |
3. ติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่พบว่าผลผิดปกติจากการคัดกรองในชุมชนร่วมกับแกนนำสุขภาพจิต อสม.และอปท. |
||
วันที่ 14 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้แกนนำสุขภาพจิตมีความรู้และแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้แกนนำสามารถสำรวจคัดกรองผู้มีภาวะซึมเศร้าประชาชนกลุ่มเสี่ยง ตัวชี้วัด : ประเมินผลจากแบบทดสอบก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะเครียดและซึมเศร้าได้รับการส่งต่อที่ถูกต้องเหมะสม ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยได้รับการคัดกรองสุขภาพจิตที่มีปัญหาได้รับการเข้าถึงบริการรักษาและส่งต่อทุกราย |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า ตัวชี้วัด : ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในชุมชน |
0.00 |
|
||
5 | เพื่อประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการร้อยละ100 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 154 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ผู้ดำเนินการ/ผู้จัดการประชุม | 4 | ||
แกนนำสุขภาพจิต | 50 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำสุขภาพจิตมีความรู้และแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้แกนนำสามารถสำรวจคัดกรองผู้มีภาวะซึมเศร้าประชาชนกลุ่มเสี่ยง (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะเครียดและซึมเศร้าได้รับการส่งต่อที่ถูกต้องเหมะสม (4) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า (5) เพื่อประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการของประชาชนกลุ่มเสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำสุขภาพจิต โดยมีการทำแบบประเมินทางสุขภาพจิตชุมชนเช่น ดัชนีชี้วัดความสุขคนไทย แบบประเมินความเครียด แบบประเมินโรคซึมเศร้า และแบบประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายและ แบบคัดกรองโรคจิต (2) กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนงานสุขภาพจิตในประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดยมีการทำแบบประเมินความเครียด และ แบบประเมินโรคซึมเศร้าแก่ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 100 คน มีการประชุม 2 รุ่น รุ่นละ 50 คน (3) ติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่พบว่าผลผิดปกติจากการคัดกรองในชุมชนร่วมกับแกนนำสุขภาพจิต อสม.และอปท.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2564 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3330-1-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจินดาพัฒน์ แม่ลิ่ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......