กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ จัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่(LQ) อบต.ป่าแก่บ่อหิน ปี ๒๕๖๔ ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางวิภารัตน์ เอี้ยวซิโป

ชื่อโครงการ จัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่(LQ) อบต.ป่าแก่บ่อหิน ปี ๒๕๖๔

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5295-5-01 เลขที่ข้อตกลง 15/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"จัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่(LQ) อบต.ป่าแก่บ่อหิน ปี ๒๕๖๔ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
จัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่(LQ) อบต.ป่าแก่บ่อหิน ปี ๒๕๖๔



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงในLQ อบต.ป่าแก่บ่อหิน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งระบบกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ปัญหา/อุปสรรค ๑. สถานที่กักกันตัว มีจำนวนจำกัด รับได้เพียง ๑๓ คนเท่านั้น จึงต้องมีการบริหารจัดการ การประสานของผู้ประสงค์เดินทางกลับภูมิลำเนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อไม่ให้ผู้มาจากพื้นที่เสี่ยงสูงและเข้มงวด เข้าไปในชุมชนก่อนจะมากักตัวที่ LQ อบต.ป่าแก่บ่อหิน ๒. การจัดการขยะติดเชื้อของผู้มากักตัวในศูนย์ LQ อบต.ป่าแก่บ่อหิน ยังไม่เข้าสู่ระบบตามมาตรฐานที่ควรจะเป็น ขยะจากศูนย์ LQ มีปริมาณมาก
แนวทางการแก้ไข ๑. มีการประสานระหว่างพื้นที่ ผู้นำชุมชน อสม. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เจ้าหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อย่างต่อเนื่อง สำรวจข้อมูลผู้มีความประสงค์กลับภูมิลำเนาให้เป็นปัจจุบัน และรายงานความก้าวหน้าเป็นระยะ เพื่อให้ทุกคนที่มาจากพื้นที่เสี่ยงสูงและเข้มงวด ได้รับการดูแล เข้าระบบการกักตัวตามมาตรการของพื้นที่ต่อไป ๒. มีการย้ำเตือน ประชาสัมพันธ์ แผ่นป้ายติดในห้องผู้กักตัวทุกห้อง ในเรื่องของมาตรการการจัดการขยะติดเชื้อในศูนย์ LQ อบต.ป่าแก่บ่อหิน
๓. ประเมินผลการดำเนินงานเป็นระยะ เพื่อหาแนวทางการแก้ไขต่อไป

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบจำนวนผู้ติดเชื้อสะสมและผู้ติดเชื้อรายใหม่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง พบว่าเป็นเชื้อโรคสายพันธุ์ที่สามารถแพร่ระบาดได้รวดเร็วกว่าสายพันธุ์ปกติ จึงมีความจำเป็นต้องยกระดับมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 ในพื้นที่จังหวัดสตูลให้เข้มงวดขึ้น มีการยกระดับพื้นที่สถานการณ์โควิด-19 โดยพื้นที่จังหวัดสตูล ยกระดับเป็นกลุ่มพื้นที่ควบคุมสูงสุด เนื่องจากมีการพบผู้ติดเชื้อโควิด-19 เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างต่อเนื่อง     ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเอง ให้ประชาชนปฏิบัติตามมาตรการการอย่างเคร่งครัด รวมทั้งการบริการสาธารณะต่างๆ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลป่าแก่บ่อหิน ดูแลเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข จึงต้องมีมาตรการแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน สามารถป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้างต่อไป อีกทั้งจังหวัดสตูลได้มีการสั่งการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดตั้งสถานที่กักกันตัวผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง (Local Quarantine) เพื่อกักกันตัวผู้เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงสูง และสัมผัสใกล้ชิดผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงในLQ อบต.ป่าแก่บ่อหิน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดตั้งระบบกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เกิดระบบการกักตัวผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 ๒. ผู้มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 ได้รับการกักตัว ๑๐๐% ๓. ไม่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สู่ชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดตั้งระบบกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง

วันที่ 1 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

๑. มีการจัดตั้งระบบกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง ตามประกาศของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ๒. รณรงค์เรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ประชาชนรับรู้ข้อมูล สถานการณ์ผ่านช่องทางต่างๆ ได้แก่ การแห่ประชาสัมพันธ์ การรณรงค์ให้ประชาชนฉีดวัคซีน มาตรการการป้องกัน D-M-H-T เป็นต้น ๓. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรคของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ ชุด PPE (ชุดหมี) สำหรับใส่ป้องกันในกรณีต้องสัมผัสสารคัดหลั่ง เชื้อไวรัส ผู้ที่มีภาวะเสี่ยง/ผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19),  ถุงมือทางการแพทย์, หน้ากากอนามัย, ปรอทดิจิตอลวัดอุณหภูมิ,  ๗๐%แอลกอฮอล์สำหรับทำความสะอาด ฆ่าเชื้อ, รองเท้าบู้ท, ถุงขยะ(แยกประเภทขยะติดเชื้อ) เป็นต้น ๔. ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์และแจ้งให้ประชาชนทราบเป็นระยะ ๕. มีการดำเนินการทำความสะอาด ฆ่าเชื้อสถานที่กักกันตัว ทุกครั้งที่มีผู้กักตัวครบกำหนดการกักกันตัว ออกจากศูนย์ LQ อบต.ป่าแก่บ่อหิน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และเจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ LQ อบต.ป่าแก่บ่อหิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. เกิดระบบการกักตัวผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 ๒. ผู้มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-๑๙ ได้รับการกักตัว ๑๐๐% มีผู้มากักกันตัวในศูนย์ Local Quarantine อบต.ป่าแก่บ่อหิน ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๔ ดังนี้ เดือนกรกฎาคม ๒๕๖๔ มีผู้มากักกันตัว จำนวน ๒๐ คน เดือนสิงหาคม ๒๕๖๔  มีผู้มากักกันตัว จำนวน ๑๗ คน เดือนกันยายน ๒๕๖๔ มีผู้มากักกันตัว จำนวน  ๑๑ คน
๓. ไม่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สู่ชุมชน ๔. ผู้มาจากพื้นที่เสี่ยงสูงและเข้มงวด มากักกันตัวที่ศูนย์ ตรวจ swab แบบ RT-PCR พบผลเป็น บวก ส่งตัวรับการรักษาที่โรงพยาบาลสนาม (โรงพยาบาลทุ่งหว้า และโรงพยาบาลท่าแพ) จำนวนทั้งสิ้น ๙ ราย

 

500 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑. มีการจัดตั้งระบบกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง ตามประกาศของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ๒. รณรงค์เรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ประชาชนรับรู้ข้อมูล สถานการณ์ผ่านช่องทางต่างๆ ได้แก่ การแห่ประชาสัมพันธ์ การรณรงค์ให้ประชาชนฉีดวัคซีน มาตรการการป้องกัน D-M-H-T เป็นต้น ๓. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรคของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ ชุด PPE (ชุดหมี) สำหรับใส่ป้องกันในกรณีต้องสัมผัสสารคัดหลั่ง เชื้อไวรัส ผู้ที่มีภาวะเสี่ยง/ผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19), ถุงมือทางการแพทย์, หน้ากากอนามัย, ปรอทดิจิตอลวัดอุณหภูมิ, ๗๐%แอลกอฮอล์สำหรับทำความสะอาด ฆ่าเชื้อ, รองเท้าบู้ท, ถุงขยะ(แยกประเภทขยะติดเชื้อ) เป็นต้น ๔. ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์และแจ้งให้ประชาชนทราบเป็นระยะ ๕. มีการดำเนินการทำความสะอาด ฆ่าเชื้อสถานที่กักกันตัว ทุกครั้งที่มีผู้กักตัวครบกำหนดการกักกันตัว ออกจากศูนย์ LQ อบต.ป่าแก่บ่อหิน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และเจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ LQ อบต.ป่าแก่บ่อหิน ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด ๑. เกิดระบบการกักตัวผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 ๒. ผู้มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-๑๙ ได้รับการกักตัว ๑๐๐%

มีผู้มากักกันตัวในศูนย์ Local Quarantine อบต.ป่าแก่บ่อหิน ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๔ ดังนี้ เดือนกรกฎาคม ๒๕๖๔ มีผู้มากักกันตัว จำนวน ๒๐ คน เดือนสิงหาคม ๒๕๖๔ มีผู้มากักกันตัว จำนวน ๑๗ คน เดือนกันยายน ๒๕๖๔ มีผู้มากักกันตัว จำนวน ๑๑ คน
๓. ไม่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สู่ชุมชน ๔. ผู้มาจากพื้นที่เสี่ยงสูงและเข้มงวด มากักกันตัวที่ศูนย์ ตรวจ swab แบบ RT-PCR พบผลเป็น บวก ส่งตัวรับการรักษาที่โรงพยาบาลสนาม (โรงพยาบาลทุ่งหว้า และโรงพยาบาลท่าแพ) จำนวนทั้งสิ้น ๙ ราย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงในLQ อบต.ป่าแก่บ่อหิน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของบุคคลที่มีความเสี่ยงได้รับการกักตัว
100.00 100.00

บุคคลที่กลับจากพื้นที่เสี่ยงตามประกาศของ ศบค. ได้รับการกักตัว ครบ100%

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500 48
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500 48
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงในLQ อบต.ป่าแก่บ่อหิน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งระบบกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ปัญหา/อุปสรรค ๑. สถานที่กักกันตัว มีจำนวนจำกัด รับได้เพียง ๑๓ คนเท่านั้น จึงต้องมีการบริหารจัดการ การประสานของผู้ประสงค์เดินทางกลับภูมิลำเนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อไม่ให้ผู้มาจากพื้นที่เสี่ยงสูงและเข้มงวด เข้าไปในชุมชนก่อนจะมากักตัวที่ LQ อบต.ป่าแก่บ่อหิน ๒. การจัดการขยะติดเชื้อของผู้มากักตัวในศูนย์ LQ อบต.ป่าแก่บ่อหิน ยังไม่เข้าสู่ระบบตามมาตรฐานที่ควรจะเป็น ขยะจากศูนย์ LQ มีปริมาณมาก
แนวทางการแก้ไข ๑. มีการประสานระหว่างพื้นที่ ผู้นำชุมชน อสม. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เจ้าหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อย่างต่อเนื่อง สำรวจข้อมูลผู้มีความประสงค์กลับภูมิลำเนาให้เป็นปัจจุบัน และรายงานความก้าวหน้าเป็นระยะ เพื่อให้ทุกคนที่มาจากพื้นที่เสี่ยงสูงและเข้มงวด ได้รับการดูแล เข้าระบบการกักตัวตามมาตรการของพื้นที่ต่อไป ๒. มีการย้ำเตือน ประชาสัมพันธ์ แผ่นป้ายติดในห้องผู้กักตัวทุกห้อง ในเรื่องของมาตรการการจัดการขยะติดเชื้อในศูนย์ LQ อบต.ป่าแก่บ่อหิน
๓. ประเมินผลการดำเนินงานเป็นระยะ เพื่อหาแนวทางการแก้ไขต่อไป

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


จัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่(LQ) อบต.ป่าแก่บ่อหิน ปี ๒๕๖๔ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5295-5-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิภารัตน์ เอี้ยวซิโป )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด