กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการกองทุน และอนุกรรมการ ครั้งที่ 428 กันยายน 2565
28
กันยายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลท่ากำชำ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นเตรียมการ 1. เตรียมเอกสาร
2. ประสานงานกับทุกฝ่าย ขั้นดำเนินการ
กิจกรรมหลักที่ 1 กิจกรรมการบริหารและพัฒนากองทุนฯ
- กิจกรรมรอง 1.1 ประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
    - กิจกรรมย่อย
    1.1.1 เตรียมเอกสารและวัสดุต่างๆในการประชุม
    1.1.2 เตรียมอาหารว่างและเครื่องดื่มของผู้เข้าร่วมประชุม
1.2 ติดตามโครงการแต่ละโครงการของทีมงานหรืออนุกรรมการติดตาม
    - กิจกรรมย่อย     1.2.1 สรุปและรายงานผลการติดตามโครงการ
1.3 รับการติดตามกองทุนหลักประกันสุขภาพจากพี่เลี้ยงกองทุนฯ
1.4 การจัดทำแผนงานโครงการของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กิจกรรมหลักที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ - กิจกรรมรอง 2.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกองทุนฯ
    - กิจกรรมย่อย
    2.1.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุนฯคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และที่ปรึกษา     2.1.2 กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และที่ปรึกษา ขั้นประเมินผล
1. รายงานผลการดำเนินงาน
2. สรุปผลการดำเนินโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำภูมิปัญญาท้องถิ่นวิทยาศาสตร์เชิงเกษตรและการบริหารจัดการมาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดทำโครงการ
  2. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่ากำชำ สามารถพัฒนาเป็นกองทุนฯ ต้นแบบได้
ประชาคมแผนสุขภาพ23 กันยายน 2565
23
กันยายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลท่ากำชำ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.  ทบทวนปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ โดยประสานข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ากำชำ 2.  กำหนดกรอบแผนงานโครงการของปีงบประมาณ ๒๕65 3.  เปิดโอกาสให้ชุมชน กลุ่ม ชมรม เสนอโครงการด้านสุขภาพ 4.  ประชุมคณะกรรมการพิจารณารายละเอียดของแต่ละโครงการโดยครอบคลุมทั้ง 6 ประเภท  ได้แก่
(1) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ สถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข
(2) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรคขององค์กรหรือกลุ่มประชาชน หรือหน่วยงานอื่น
(3) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หรือศูนย์ที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและดูแลเด็กเล็กในชุมชน ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือศูนย์ ที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและดูแลเด็กเล็กในชุมชน หรือการพัฒนาและฟื้นฟู คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุหรือคนพิการในชุมชน
(4) เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ ให้มีประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(5) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมกรณีเกิดโรคระบาด หรือภัยพิบัติในพื้นที่ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุข ได้ตามความจำเป็นเหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ได้ 5.  คณะกรรมการอนุมัติการใช้งบประมาณที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุน 6.  กำกับติดตามผลการดำเนินโครงการที่กองทุนให้การสนับสนุน 7.  รายงานสถานะการเงินทุกไตรมาส 8.  บันทึกข้อมูลผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ทุกเดือน 9.  สรุปผลการดำเนินงานประจำปี

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.  พัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่ากำชำ
2.  กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่ากำชำ ได้ดำเนินการตามแผนอย่างมีประสิทธิภาพ
3.  ประชาชนกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขทั้งที่บ้าน ชุมชน หรือหน่วยงานบริการได้อย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ

ประชุมคณะกรรมการกองทุน และอนุกรรมการ ครั้งที่ 321 มิถุนายน 2565
21
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลท่ากำชำ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นเตรียมการ 1. เตรียมเอกสาร
2. ประสานงานกับทุกฝ่าย ขั้นดำเนินการ
กิจกรรมหลักที่ 1 กิจกรรมการบริหารและพัฒนากองทุนฯ
- กิจกรรมรอง 1.1 ประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
    - กิจกรรมย่อย
    1.1.1 เตรียมเอกสารและวัสดุต่างๆในการประชุม
    1.1.2 เตรียมอาหารว่างและเครื่องดื่มของผู้เข้าร่วมประชุม
1.2 ติดตามโครงการแต่ละโครงการของทีมงานหรืออนุกรรมการติดตาม
    - กิจกรรมย่อย     1.2.1 สรุปและรายงานผลการติดตามโครงการ
1.3 รับการติดตามกองทุนหลักประกันสุขภาพจากพี่เลี้ยงกองทุนฯ
1.4 การจัดทำแผนงานโครงการของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กิจกรรมหลักที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ - กิจกรรมรอง 2.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกองทุนฯ
    - กิจกรรมย่อย
    2.1.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุนฯคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และที่ปรึกษา     2.1.2 กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และที่ปรึกษา ขั้นประเมินผล
1. รายงานผลการดำเนินงาน
2. สรุปผลการดำเนินโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำภูมิปัญญาท้องถิ่นวิทยาศาสตร์เชิงเกษตรและการบริหารจัดการมาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดทำโครงการ
  2. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่ากำชำ สามารถพัฒนาเป็นกองทุนฯ ต้นแบบได้
ประชุมคณะกรรมการกองทุน และอนุกรรมการ ครั้งที่ 225 กุมภาพันธ์ 2565
25
กุมภาพันธ์ 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลท่ากำชำ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นเตรียมการ 1. เตรียมเอกสาร
2. ประสานงานกับทุกฝ่าย ขั้นดำเนินการ
กิจกรรมหลักที่ 1 กิจกรรมการบริหารและพัฒนากองทุนฯ
- กิจกรรมรอง 1.1 ประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
    - กิจกรรมย่อย
    1.1.1 เตรียมเอกสารและวัสดุต่างๆในการประชุม
    1.1.2 เตรียมอาหารว่างและเครื่องดื่มของผู้เข้าร่วมประชุม
1.2 ติดตามโครงการแต่ละโครงการของทีมงานหรืออนุกรรมการติดตาม
    - กิจกรรมย่อย     1.2.1 สรุปและรายงานผลการติดตามโครงการ
1.3 รับการติดตามกองทุนหลักประกันสุขภาพจากพี่เลี้ยงกองทุนฯ
1.4 การจัดทำแผนงานโครงการของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กิจกรรมหลักที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ - กิจกรรมรอง 2.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกองทุนฯ
    - กิจกรรมย่อย
    2.1.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุนฯคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และที่ปรึกษา     2.1.2 กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และที่ปรึกษา ขั้นประเมินผล
1. รายงานผลการดำเนินงาน
2. สรุปผลการดำเนินโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำภูมิปัญญาท้องถิ่นวิทยาศาสตร์เชิงเกษตรและการบริหารจัดการมาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดทำโครงการ
  2. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่ากำชำ สามารถพัฒนาเป็นกองทุนฯ ต้นแบบได้
ประชุมคณะกรรมการกองทุน และอนุกรรมการ ครั้งที่ 13 ธันวาคม 2564
3
ธันวาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลท่ากำชำ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วิธีดำเนินการ
ขั้นเตรียมการ
1. เตรียมเอกสาร
2. ประสานงานกับทุกฝ่าย
ขั้นดำเนินการ
กิจกรรมหลักที่ 1 กิจกรรมการบริหารและพัฒนากองทุนฯ
- กิจกรรมรอง
1.1 ประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
    - กิจกรรมย่อย
    1.1.1 เตรียมเอกสารและวัสดุต่างๆในการประชุม
    1.1.2 เตรียมอาหารว่างและเครื่องดื่มของผู้เข้าร่วมประชุม
1.2 ติดตามโครงการแต่ละโครงการของทีมงานหรืออนุกรรมการติดตาม
    - กิจกรรมย่อย
    1.2.1 สรุปและรายงานผลการติดตามโครงการ
1.3 รับการติดตามกองทุนหลักประกันสุขภาพจากพี่เลี้ยงกองทุนฯ
1.4 การจัดทำแผนงานโครงการของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กิจกรรมหลักที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ
- กิจกรรมรอง
2.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกองทุนฯ
    - กิจกรรมย่อย
    2.1.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุนฯคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และที่ปรึกษา
    2.1.2 กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และที่ปรึกษา
ขั้นประเมินผล
1. รายงานผลการดำเนินงาน
2. สรุปผลการดำเนินโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.  พัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่ากำชำ
2.  กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่ากำชำ ได้ดำเนินการตามแผนอย่างมีประสิทธิภาพ

ประชุมคณะอนุกรรมการ กองทุน LTC ครั้งที่ 11 ตุลาคม 2564
1
ตุลาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลท่ากำชำ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นเตรียมการ 1. เตรียมเอกสาร
2. ประสานงานกับทุกฝ่าย ขั้นดำเนินการ
กิจกรรมหลักที่ 1 กิจกรรมการบริหารและพัฒนากองทุนฯ
- กิจกรรมรอง 1.1 ประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
    - กิจกรรมย่อย
    1.1.1 เตรียมเอกสารและวัสดุต่างๆในการประชุม
    1.1.2 เตรียมอาหารว่างและเครื่องดื่มของผู้เข้าร่วมประชุม
1.2 ติดตามโครงการแต่ละโครงการของทีมงานหรืออนุกรรมการติดตาม
    - กิจกรรมย่อย     1.2.1 สรุปและรายงานผลการติดตามโครงการ
1.3 รับการติดตามกองทุนหลักประกันสุขภาพจากพี่เลี้ยงกองทุนฯ
1.4 การจัดทำแผนงานโครงการของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กิจกรรมหลักที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ - กิจกรรมรอง 2.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกองทุนฯ
    - กิจกรรมย่อย
    2.1.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุนฯคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และที่ปรึกษา     2.1.2 กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และที่ปรึกษา ขั้นประเมินผล
1. รายงานผลการดำเนินงาน
2. สรุปผลการดำเนินโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำภูมิปัญญาท้องถิ่นวิทยาศาสตร์เชิงเกษตรและการบริหารจัดการมาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดทำโครงการ
  2. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่ากำชำ สามารถพัฒนาเป็นกองทุนฯ ต้นแบบได้