กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการร่วมด้วย ช่วยกัน เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางศรินทิพย์ มุณีสว่าง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

ชื่อโครงการ โครงการร่วมด้วย ช่วยกัน เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L7250-5-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมด้วย ช่วยกัน เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมด้วย ช่วยกัน เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมด้วย ช่วยกัน เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L7250-5-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,089,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) มีความรุนแรงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก พบการระบาดในหลายประเทศ รวมทั้งประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งประเทศไทย มีพรหมแดนติดต่อกับประเทศมาเลเซีย พม่า ลาว และกัมพูชา และมีการเคลื่อนย้ายของประชากรเป็นจำนวนมาก องค์การอนามัยโลกได้ประกาศว่าการแพร่ระบาดของเชื้อดังกล่าวเป็นภัยพิบัติฉุกเฉินระดับโลก ขณะเดียวกันประเทศไทยได้ประกาศให้โรคติดเชื้อ COVID-19 เป็นโรคติดต่ออันตราย รายงานสถานการณ์จากทั่วโลก มีจำนวนผู้ติดเชื้อ 236,113,909 ราย เสียชีวิต 4,821,954 ราย สำหรับประเทศไทยพบผู้ติดเชื้อ จำนวน 1,647,362 ราย เสียชีวิต 17,111 ราย (ข้อมูลจาก : รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 4 ตุลาคม ๒๕๖4) เทศบาลนครสงขลา พบผู้ติดเชื้อ จำนวน 2302 ราย เสียชีวิต 17 ราย (ข้อมูลจากงานป้องกันและควบคุมโรคฯเทศบาลนครสงขลา ณ วันที่ 16 ตุลาคม 2564) ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบอย่างมหาศาลต่อผู้คนและเศรษฐกิจทั่วโลกอยู่ในขณะนี้ ซึ่งรัฐบาลได้ออกนโยบายและมาตรการต่างๆ เพื่อช่วยเหลือ บรรเทาความเดือดร้อนให้กับผู้ป่วย บุคลากรทางการแพทย์ และประชาชนที่ได้รับผลกระทบทางตรง ทั้งนี้ ยา ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง นับว่ามีความสำคัญ ต่อการรักษาและป้องกันโรคเป็นอย่างยิ่ง ในการนี้ เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงจำเป็นต้องดำเนินการคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) การให้คำแนะนำและให้ความรู้แก่ประชาชน อย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) เทศบาลนครสงขลา ได้ดำเนินการจัดตั้ง ศูนย์กักกันและสังเกตอาการกลุ่มเสี่ยง จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ(สโมสรเขาน้อย) จำนวน 20 เตียง และศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการกีฬา อบจ.สงขลา จำนวน 68 เตียง เพื่อรองรับในการกักกันและสังเกตอาการประชาชนกลุ่มเสี่ยงภายในเขตเทศบาลนครสงขลา
งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ เทศบาลนครสงขลา จึงได้มีการจัดทำโครงการร่วมด้วย ช่วยกัน เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
  2. 2. เพื่อกักตัวและสังเกตอาการของกลุ่มเสี่ยง ในศูนย์ LQ ของอำเภอเมือง
  3. 3. เพื่อประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ คำแนะคำ ในการดูแลตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,820
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ไม่เกิดการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา
      1. สามารถลดการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
      2. กลุ่มเสี่ยงปฏิบัติตัวตามมาตรการการป้องกันการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    3.1. มีการประชุมวางแผน ของเจ้าหน้าที่ อสม.และผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการลงพื้นที่เขตเทศบาลนครสงขลา เพื่อป้องกัน และควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
    3.2 จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ยาและเวชภัณฑ์ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ให้เพียงพอและพร้อมใช้งาน 3.3 ลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้กับประชาชนภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 3.4 สนับสนุนอุปกรณ์ในการเฝ้าระวังโรคไวรัสโคโรนา ๑๙ (COVID-19) ให้กับโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานต่างๆ 3.5 ดำเนินการเฝ้าระวังและสังเกตอาการกลุ่มเสี่ยงใน Local Quarantine 3.6 ดำเนินการคัดกรอง เฝ้าระวังและสังเกตอาการกลุ่มเสี่ยงในชุมชน 3.7 ติดตามสถานการณ์ เพื่อวางแผนการดำเนินงานในการเฝ้าระวังโรคไวรัสโคโรนา ๑๙ (COVID-19)     3.8 กิจกรรมการดูแลเฝ้าระวังกลุ่มป่วย-กลุ่มเสี่ยง     3.8.1 การลงปฏิบัติงานเชิงรุก เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) งานป้องกันเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ ร่วมกับ PCU ชลาทัศน์ กุโบร์ พาณิชย์ สมิหลา  ใจกลาง โรงพยาบาลสงขลา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองสงขลา (ตามแผนปฏิบัติการ) - ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) วันที่ 1 เมษายน 2564 – 30 กันยายน 2564 จำนวน 1,904 ราย มีผู้เสียชีวิต จำนวน 16 ราย คิดเป็น ร้อยละ 0.84 - ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) วันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 31 มกราคม 2565 จำนวน 2,013 ราย มีผู้เสียชีวิต จำนวน 9 ราย คิดเป็น ร้อยละ 0.44
    - ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 – 31 สิงหาคม 2565 จำนวนผลการตรวจยืนยันแบบ RT-PCR จำนวน 876 ราย และการตรวจหาเชื้อแบบ Antigen Test Kit (ATK) จำนวน 9,780 ราย มีผู้เสียชีวิต จำนวน 0 ราย คิดเป็น ร้อยละ 0.00 3.9 กิจกรรมกลุ่มเสี่ยงที่พักใน Local Quarantine
    - โดยมีการวัดอุณหภูมิร่างกาย 2 เวลา ตั้งแต่ 08.00 น. และ 16.00 น. ของทุกวัน
    - มีการจ่ายยาตามอาการของผู้เข้ารับการกักตัว
    - แนะนำการสังเกตอาการของตนเอง และการปฏิบัติตนเมื่อเข้ารับการกักตัวที่ Local Quarantine - ตรวจ Swab ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2 ให้แก่กลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการกักตัว - ดูแลเรื่องของอาหารของผู้กักตัว - จัดการขยะติดเชื้อ และขยะทั่วไป รวมถึงการดูแลเรื่องความสะอาด สภาพแวดล้อมที่ของ Local Quarantine - ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น โรงพยาบาลสงขลา เพื่อส่งต่อผู้ป่วยที่พบเชื้อ และการตรวจหาเชื้อของกลุ่มเสี่ยงที่กักตัว รวมถึงผล Lab ของกลุ่มเสี่ยง
    3.9.1 กลุ่มเสี่ยงที่พักใน Local Quarantine ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการกีฬา อบจ.สงขลา มีจำนวน ผู้เข้ารับการกักตัว ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 – 30 ธันวาคม 2564 จำนวน 236 ราย    พบ Positive 66 ราย ดังนี้ - เดือน กรกฎาคม 2564 จำนวน 26 ราย พบ Positive 1 ราย - เดือน สิงหาคม 2564 จำนวน 59 ราย พบ Positive 11 ราย - เดือน กันยายน 2564 จำนวน 42 ราย พบ Positive 7 ราย - เดือน ตุลาคม 2564 จำนวน 42 ราย พบ Positive 20 ราย - เดือน พฤศจิกายน 2564 จำนวน 47 ราย พบ Positive 25 ราย - เดือน ธันวาคม 2564 จำนวน 20 ราย พบ Positive 2 ราย 3.9.2 กลุ่มเสี่ยงที่พักใน Local Quarantine ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ (สโมสรเขาน้อย) มีจำนวน ผู้เข้ารับการกักตัว ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 มกราคม 2565 จำนวน 138 ราย  พบ Positive 108 ราย ดังนี้ - เดือน ตุลาคม 2564 จำนวน 65 ราย พบ Positive 63 ราย - เดือน พฤศจิกายน 2564 จำนวน 47 ราย พบ Positive 44 ราย - เดือน ธันวาคม 2564 จำนวน 14 ราย พบ Positive 1 ราย - เดือน มกราคม 2565 จำนวน 12 ราย พบ Positive 0 ราย

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
    ตัวชี้วัด : 1. สามารถลดอัตราป่วย ลง ร้อยละ 10 จากปี 2564
    10.00

    4.1 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการกักตัว และปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันโรคร้อยละ 90 4.2 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้ในการดูแลตนเอง และสามารถปฏิบัติตัวตามมาตรการการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

    2 2. เพื่อกักตัวและสังเกตอาการของกลุ่มเสี่ยง ในศูนย์ LQ ของอำเภอเมือง
    ตัวชี้วัด : 2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการกักตัว และ ปฏิบัติตามมาตรการ การป้องกันโรค ร้อยละ 90
    90.00

    4.2 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้ในการดูแลตนเอง และสามารถปฏิบัติตัวตามมาตรการการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

    3 3. เพื่อประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ คำแนะคำ ในการดูแลตนเอง
    ตัวชี้วัด : 3. ประชาชนภายในเขตเทศบาล มีความรู้ ความสามารถในการดูแล ตนเอง เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 6820 6820
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,820 6,820
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) (2) 2. เพื่อกักตัวและสังเกตอาการของกลุ่มเสี่ยง ในศูนย์ LQ ของอำเภอเมือง (3) 3. เพื่อประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ คำแนะคำ ในการดูแลตนเอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการร่วมด้วย ช่วยกัน เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 65-L7250-5-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางศรินทิพย์ มุณีสว่าง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด