กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา


“ โครงการปลูกและกินผักปลอดสารพิษ เพื่อการสุขภาพดี หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม. หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา

ชื่อโครงการ โครงการปลูกและกินผักปลอดสารพิษ เพื่อการสุขภาพดี หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3339-02-07 เลขที่ข้อตกลง 0016/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มิถุนายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปลูกและกินผักปลอดสารพิษ เพื่อการสุขภาพดี หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปลูกและกินผักปลอดสารพิษ เพื่อการสุขภาพดี หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปลูกและกินผักปลอดสารพิษ เพื่อการสุขภาพดี หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3339-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มิถุนายน 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันผักที่นำมาใช้ปรุงอาหารในครัวเรือนเป็นผักที่จัดซื้อจากท้องตลาด ซึ่งผักส่วนใหญ่มีการปนเปื้อนสารเคมี โดยปกติก่อนการปรุง ถึงจะล้างทำความสะอาดอย่างดี แต่อย่างไรก็ตามยังไม่สามารถชะล้างสารตกค้างออกได้ทั้งหมด ส่งผลให้ผู้บริโภคอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง ทั้งนี้เนื่องจากการบริโภคพืชผักและผลไม้ที่ไม่ปลอดภัยทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกายอาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคชนิดต่างๆ ได้ซึ่งเป็นการบั่นทอนทรัพยากรมนุษย์ระยะยาวหากเด็กรับประทานผักมีสารเคมีปนเปื้อน แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการรณรงค์ส่งเสริมในเรื่องการลดละเลี่ยงเลิกการใช้สารพิษในการเกษตรแต่เกษตรกรส่วนใหญ่ยังคงชินกับรูปแบบเดิมโดยไม่คำนึงถึงความปลอดภัยทางด้านสุขภาพของผู้บริโภคการปลูกพืช ผักสวนครัวที่ไร้สารพิษตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทำให้ผู้บริโภคมีสุขภาพร่างกายที่ดีสมาชิกในครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันใช้เป็นอาหารในครัวเรือนลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนพึ่งพาตนเองและสามารถดำเนินชีวิตให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน ลดความเสี่ยงจากสารเคมีสะสมในร่างกาย เพื่อให้สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง จากการได้รับประทานผักปลอดสารพิษ ในปริมาณที่เพียงพอและรับประทานผักที่ปลอดสารพิษ ทำให้สุขภาพดีแข็งแรงปลอดจากสารพิษตกค้าง และเป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชนและนำไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีด้วยการกินผักปลอดสารพิษ
  2. เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการปลูกผักปลอดสารพิษ
  3. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ และสามารถปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ
  2. การตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดผู้เข้าร่วมกิจกรรม ก่อน - หลัง โครงการ
  3. กิจกรรมฝึกอบรม การสาธิตฝึกปฏิบัติ ความรู้เรื่อง โรคที่เกิดจากอาหารที่มีสารปนเปื้อนในอาหาร และ การผลิตน้ำหมักชีวภาพ น้ำยากำจัดแมลงชีวภาพ
  4. เยี่ยม ติดตาม สนับสนุนครัวเรือน ที่ปลูกและกิน ผักปลอดสารเคมี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีสุขภาพดีด้วยการกินผักปลอดสารพิษ
  2. ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน
  3. มีความรู้ความเข้าใจวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ และสามารถปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีด้วยการกินผักปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ประชาชนมีสุขภาพดีด้วยการกินผัก
50.00 70.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการปลูกผักปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการปลูกผักปลอดสารพิษ
40.00 70.00

 

3 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ และสามารถปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ
60.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีด้วยการกินผักปลอดสารพิษ (2) เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการปลูกผักปลอดสารพิษ (3) ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ และสามารถปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ (2) การตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดผู้เข้าร่วมกิจกรรม ก่อน - หลัง โครงการ (3) กิจกรรมฝึกอบรม การสาธิตฝึกปฏิบัติ ความรู้เรื่อง โรคที่เกิดจากอาหารที่มีสารปนเปื้อนในอาหาร  และ การผลิตน้ำหมักชีวภาพ น้ำยากำจัดแมลงชีวภาพ (4) เยี่ยม ติดตาม สนับสนุนครัวเรือน ที่ปลูกและกิน ผักปลอดสารเคมี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปลูกและกินผักปลอดสารพิษ เพื่อการสุขภาพดี หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3339-02-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรม อสม. หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด