กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการครอบครัวสุขภาพดี สังคมมีสุข ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุ่งนภา อุสมา

ชื่อโครงการ โครงการครอบครัวสุขภาพดี สังคมมีสุข

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5312-2-12 เลขที่ข้อตกลง 11/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มิถุนายน 2565 ถึง 16 มิถุนายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการครอบครัวสุขภาพดี สังคมมีสุข จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการครอบครัวสุขภาพดี สังคมมีสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการครอบครัวสุขภาพดี สังคมมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5312-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มิถุนายน 2565 - 16 มิถุนายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถาบันครอบครัวเป็นสถาบันพื้นฐานที่เป็นหลักสำคัญที่สุดของสังคมเป็นรากฐานของการพัฒนาคนและสังคม โดยทำหน้าที่หล่อหลอมและขัดเกลาความเป็นมนุษย์ให้แก่สมาชิกในครอบครัวด้วยการอบรมเลี้ยงดู พร้อมทั้งปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคมให้แก่สมาชิกครอบครัวเพื่อให้สมาชิกครอบครัวมีพัฒนาการตามวัยและเติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ รู้จักหน้าที่ความรับผิดชอบ และเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ
ปัจจุบันครอบครัวไทยเปลี่ยนจากรูปแบบจากครอบครัวขยายซึ่งมีสมาชิก 3 ช่วงวัย กลายเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น และนับวันยิ่่งมีขนาดเล็กลง จำนวนบุตรเฉลี่ยเหลือเพียง 1.5 คน/ครอบครัวซึมซับวัฒนธรรมตะวันตกมาอย่างต่อเนื่องจนทำให้สังคมไทยและคนในสังคมมีการเปลี่ยนแปลงในด้านวิถีการดำเนินชีวิตและวิถีวัฒนธรรมอย่างรวดเร็ว ขณะที่โครงสร้างทางสังคมไทยยังไม่สามารถปรับตัวได้ทันคนไทยจึงต้องเผชิญกับวิกฤตเรื่องค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และพฤติกรรมที่มีการเลียนแบบวัฒนธรรมการบริโภคนิยม วัตถุนิยม และการให้ความสำคัญกับเงินตราเป็นตัวตั้งซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเริ่มต้นจากเมืองหลวงและกระจายตัวไปสู่เมืองใหญ่ และจากเมืองใหญ่ไปสู่ชนบทโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยและสื่อทุกแขนงเป็นตัวเชื่อมร้อยให้ทุกพื้นที่ของประเทศไทยได้รับผลกระทบจากวิกฤติทางสังคมและวัฒนธรรมอย่างทั่วถึง ผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ดังกล่าวทำให้ครอบครัวไทยประสบปัญหาอย่างรุนแรง ปัญหาที่ครอบครัวได้รับผลกระทบ ได้แก่การหย่าร้าง สัมพันธภาพในครอบครัว ความรุนแรงในครอบครัว เด็กและผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง ฯลฯ ประกอบกับสภาวะเศรษฐกิจที่แต่ละครอบครัวต้องดิ้นรนและแข่งขันกันทำมาหากิน ส่งผลให้สัมพันธภาพและความเกื้อกูลของคนในครอบครัวและชุมชนลดน้อยลง พ่อแม่ผู้ปกครองไม่ทำหน้าที่อบรมสั่งสอนและขัดเกลาสมาชิกในครอบครัวให้เป็นคนดีและมีการเจริญเติบโตตามวัย จึงทำให้เด็กไทยในปัจจุบันตกเป็นเหยื่อของค่านิยมผิด ๆ ในด้านวัตถุนิยม บริโภคนิยม ติดอบายมุข ติดยาเสพติดมีนิสัยก้าวร้าว ชอบใช้ความรุนแรง ขาดความอดทนอดกลั้น มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร มีการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ไม่สนใจเรียน และออกจากโรงเรียนกลางคัน การวางแผนดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เป็นเรื่องที่มีคุณค่าอย่างยิ่ง เพราะในแต่ละช่วงวัยจะมีความแตกต่างกัน เนื่องจากในแต่ละวัย สภาพร่างกายต้องการได้รับการดูแลที่ไม่เหมือนกัน ในวัยเด็กหรือวัยรุ่น ต้องการการดูแลสุขภาพเพื่อไปสร้างเสริมร่างกายให้เกิดความเจริญเติบโต ในวัยทำงานหรือวัยกลางคนก็ต้องการการซ่อมเสริมเพื่อให้ร่างกายแข็งแกร่งและป้องกันการเกิดโรคเพื่อสามารถทำงานหนักได้อย่างสมดุล และในวัยสูงอายุก็ต้องการการดูแลสุขภาพเป็นพิเศษ เพราะอยู่ในวัยที่ร่างกายผ่านการใช้งานมามากและมีความเสื่อมโทรม ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมให้ความรู้และกระตุ้นให้บุคคลในครอบครัวเกิดความกระตือรือร้นในการดูแลสุขภาพ การเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะกับวัย การป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น การออกกำลังกายที่เหมาะสม และสร้างสัมพันธภาพอันดีระหว่างสมาชิกทุกคนในครอบครัว เกิดความรักในครอบครัวซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างดี อันจะนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว เข้าใจหลักการดำเนินชีวิตที่เหมาะสมในการดูแลสุขภาพของคนในครอบครัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ
  2. จัดอบรมให้ความรู้ครอบครัวสุขภาพดี
  3. สรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ครอบครัวอบอุ่น สังคมมีสุข


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว เข้าใจหลักการดำเนินชีวิตที่เหมาะสมในการดูแลสุขภาพของคนในครอบครัว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม มีสติแก้ไขปัญหาที่ครอบครัวได้รับผลกระทบได้
5.00 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว เข้าใจหลักการดำเนินชีวิตที่เหมาะสมในการดูแลสุขภาพของคนในครอบครัว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ (2) จัดอบรมให้ความรู้ครอบครัวสุขภาพดี (3) สรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการครอบครัวสุขภาพดี สังคมมีสุข จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5312-2-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรุ่งนภา อุสมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด