กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดพุง ลดโรค ในคลินิก DPAC และชุมชน รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา ประจำปี 2565 ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางศิรานันท์ บุตรบุรี รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสา

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดพุง ลดโรค ในคลินิก DPAC และชุมชน รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา ประจำปี 2565

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-50105-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดพุง ลดโรค ในคลินิก DPAC และชุมชน รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา ประจำปี 2565 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดพุง ลดโรค ในคลินิก DPAC และชุมชน รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดพุง ลดโรค ในคลินิก DPAC และชุมชน รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-50105-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,331.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญที่ต้องเร่งแก้ไขเนื่องจากเป็นปัญหาหนึ่งซึ่งนำไปสู่ผลกระทบต่อสุขภาพ เศรษฐกิจ และปัญหาทางจิตสังคมอย่างชัดเจน โรคที่เป็นผลกระทบจากภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนต่อสุขภาพที่พบในผู้ใหญ่ได้แก่ ข้อเข่าเสื่อม ภาวะอัมพฤกษ์อัมพาต ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดสูง เป็นต้นและยังพบว่าการตายในผู้ที่อายุระหว่าง๒๐ – ๗๔ปีกว่าครึ่งหนึ่ง มีผลมาจากความอ้วน โรคหัวใจและหลอดเลือด ยังเป็นสาเหตุการตายของคนทั่วโลกปีละ ๑๗ล้านคนและมีแนวโน้มรุนแรงขึ้น โดยคาดว่าในปีพ.ศ.๒๕๖๕ทั่วโลกจะมีผู้เสียชีวิตจากโรคดังกล่าวประมาณ๒๕ล้านคน ปัญหาสุขภาพเหล่านี้ส่งผลให้เกิดการสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค เป็นภาระของครอบครัวและประเทศ นอกจากนี้ยังปรากฏว่าร้อยละ๒-๘ของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนในปัจจุบันเป็นค่าใช้จ่ายที่เป็นผลกระทบจากโรคอ้วน ถ้าเป็นเช่นนี้ต่อไปในอีก๑๐ปีข้างหน้าค่าใช้จ่ายในส่วนนี้จะเพิ่มขึ้นอีกเป็นจำนวนมาก จากข้อมูลองค์การอนามัยโลกในปี พ.ศ. 2557 พบว่าทั่วโลกผู้ใหญ่ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน (ค่าดัชนีมวลกายตั้งแต่ 25กก./ตร.ม.ขึ้นไป) ประมาณ 1,900 ล้านรายและเป็นโรคอ้วน (ค่าดัชนีมวลกายตั้งแต่ 30กก./ตร.ขึ้นไป) อย่างน้อย 600 ล้านราย นั่นคือ ร้อยละ 39 ของผู้ใหญ่ในโลกนี้ มีภาวะน้ำหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วน อีกด้วย ในประเทศไทย โรคอ้วนเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตมากถึง 20,000 ราย หรือคิดเป็นร้อยละ 5.1 ของการเสียชีวิตทั้งหมดในปี พ.ศ. 2557 และจากผลสำรวจสุขภาพล่าสุด พบว่าคนไทยอายุ 15 ปี ขึ้นไปป่วยเป็นโรคอ้วน ติดอันดับ 5 ของเอเชียแปซิฟิก โดยมีคนอ้วนมากถึง17 ล้านคนทั่วประเทศ และยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 4 ล้านคนต่อปีภาวะอ้วนลงพุงส่วนใหญ่จะเกิดจากพฤติกรรมการบริโภค กรรมพันธุ์ และไม่ออกกำลังกาย ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคเรื้อรังตามมา เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ หลอดเลือดสมองและมะเร็ง จากการคัดกรองภาวะสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสา ปีงบประมาณ 2564 พบว่าประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง 1,436 คน พบเสี่ยง(ระดับน้ำตาลในเลือด 100-126 mgdl) จำนวน 390 คน คิดเป็นร้อยละ27.16พบเสี่ยงสูง (ระดับน้ำตาลในเลือด มากกว่า 126 mgdl) จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ2.99 ของกลุ่มที่ได้รับการคัดกรอง และจากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการคัดกรอง 1,241 คนพบเสี่ยง(ระดับความดันโลหิต SBP120-139 mmHg หรือ DBP 80-89 mmHg) จำนวน 97 คน คิดเป็นร้อยละ 7.82 พบเสี่ยงสูง (ระดับความดันโลหิต SBP>=140mmHg หรือ DBP >=90 mmHg)) จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 0.89 ของกลุ่มที่ได้รับการคัดกรอง นอกจากนั้นพบว่าประชากรวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายเกิน ร้อยละ40.55 (จากระบบHDCสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง วันที่ 30 มกราคม 2565 ) ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสาตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค ในคลินิก DPAC และในชุมชน รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา ประจำปี2565 เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรคเรื้อรัง สามารถควบคุมและลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้ดี
  4. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดพุง ลดโรค ของประชาชนที่มีค่าดัชนีมวลกายเกิน
  5. เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน
  6. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ดำเนินการกิจกรรมรณรงค์การออกกำลังกายในหมู่บ้าน จำนวน 1 ครั้ง เพื่อสร้างกระแสการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน หมู่บ้านละ 30 คน จำนวน 5 หมู่บ้าน รวม 150 คน
  2. กิจกรรมตรวจคัดกรองสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ ครั้งที่1
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในเรื่องการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการอารมณ์
  4. ดำเนินการออกกำลังกาย ในคลินิก DPAC สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 1 ชั่วโมง จำนวน 8 สัปดาห์
  5. ติดตามภาวะสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ ครั้งที่2
  6. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 452
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 414
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 441
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละของประชาชนมีความเสี่ยงโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ มีระดับน้ำตาลลดลง ร้อยละ 10
2.ร้อยละของประชาชนมีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการ มีค่าความดันโลหิตลดลง ร้อยละ 10
3.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้ดี เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5
4.ร้อยละของประชาชนที่มีค่าดัชนีมวลกายเกินที่เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายลดลง ร้อยละ 10
5.มีกลุ่มออกกำลังกายในชุมชนอย่างน้อย 1 กลุ่ม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนมีความเสี่ยงโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ มีระดับน้ำตาลลดลง ร้อยละ 10
27.16 0.00

 

2 เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนมีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการ มีค่าความดันโลหิตลดลง ร้อยละ 10
7.82 0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้ดี เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5
48.30 0.00

 

4 เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดพุง ลดโรค ของประชาชนที่มีค่าดัชนีมวลกายเกิน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีค่าดัชนีมวลกายเกินที่เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายลดลง ร้อยละ 10
25.39 0.00

 

5 เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : มีกลุ่มออกกำลังกายในชุมชนอย่างน้อย 1 กลุ่ม
0.00 1.00

 

6 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
69.92 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1307
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 452
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 414
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 441
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้ดี (4) เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดพุง ลดโรค ของประชาชนที่มีค่าดัชนีมวลกายเกิน (5) เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน (6) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดำเนินการกิจกรรมรณรงค์การออกกำลังกายในหมู่บ้าน จำนวน 1 ครั้ง เพื่อสร้างกระแสการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน หมู่บ้านละ 30 คน จำนวน 5 หมู่บ้าน รวม 150 คน (2) กิจกรรมตรวจคัดกรองสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ ครั้งที่1 (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในเรื่องการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการอารมณ์ (4) ดำเนินการออกกำลังกาย ในคลินิก DPAC สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 1 ชั่วโมง จำนวน 8 สัปดาห์ (5) ติดตามภาวะสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ ครั้งที่2 (6) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดพุง ลดโรค ในคลินิก DPAC และชุมชน รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา ประจำปี 2565 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-50105-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศิรานันท์ บุตรบุรี รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด