กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง


“ โครงการป้องกันและจัดการโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสา ปีงบประมาณ 2565 ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางศิรานันท์ บุตรบุรี รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสา

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและจัดการโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสา ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-50105-01-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2565 ถึง 15 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและจัดการโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสา ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและจัดการโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสา ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและจัดการโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสา ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-50105-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2565 - 15 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,949.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ยังคงเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของประชาชนไทยทั้งในด้านภาระโรค และอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร (30-60ปี) จากโรคไม่ติดต่อที่สำคัญประกอบด้วย โรคหลอดเลือดสมอง, โรคหัวใจขาดเลือด, โรคเบาหวาน, ภาวะความดันโลหิตสูง และโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 ถึงปี พ.ศ. 2559 หลังจากนั่นมีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย และคงที่ในปี พ.ศ. 2561 โดยโรคหลอดเลือดสมองมีอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรสูงที่สุดเท่ากับ 44.3 รายต่อประชากรแสนคน (กรมควบคุมโรค,รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง พ.ศ. 2562)
จากรายงานสถานการณ์โรค NCDs ของกรมควบคุมโรค กองโรคไม่ติดต่อ พบว่าอุบัติการณ์การเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานรายใหม่มีแนวโน้มลดลง โดยมีปัจจัยเชิงบวกด้านพฤติกรรมในประชากรที่ดีขึ้นทั้งในกลุ่มวัยผู้ใหญ่ และวัยรุ่น คือความชุกของการสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีแนวโน้มลดลง แต่อย่างไรก็ตามยังมีปัจจัยเสี่ยงเชิงลบที่คุกคามสุขภาพคือการบริโภคอาหารที่ไม่สมดุล และมีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ ถึงอุบัติการณ์การเกิดโรคจะมีแนวโน้มลดลงแต่ทว่ายังคงเป็นการเปลี่ยนแปลงในอัตราที่ไม่มาก ในส่วนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสาได้มีการดำเนินกิจกรรมคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และมีการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยล่าสุดในปี พ.ศ. 2564 ได้มีการคัดกรองประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ยังไม่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,312 คน ได้รับการคัดกรอง 1,241 คนคิดเป็นร้อยละ 94.59 พบมีภาวะเสี่ยง ร้อยละ 7.82พบสงสัยป่วย ร้อยละ 0.89 กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยได้รับการติดตามวัดความโลหิตที่บ้านจำนวน 168 คน ร้อยละ 99.41 และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วย จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 0.32 ในส่วนของการดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวานในประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 1,524 คน ได้รับการเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว จำนวน 1,436 คน ร้อยละ 94.23 พบมีภาวะเสียง ร้อยละ 27.16 และสงสัยป่วย ร้อยละ 2.99 โดยหลังการติดตามไม่มีผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ในปี พ.ศ.2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสามีผู้เสียชีวิตด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ จำนวน 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 15 และเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่ออื่นๆ เช่น โรคมะเร็ง ไตวาย ตับแข็ง จำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 40
จากข้อมูลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสา เล็งเห็นต่อความสำคัญในการตรวจคัดกรอง และการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงหลังได้รับการคัดกรองที่ควรดำเนินการต่อเนื่องในทุกๆปี เพื่อเป็นการป้องกัน ค้นหากลุ่มผู้ป่วยรายใหม่เพื่อให้ได้รับการักษาอย่างต่อเนื่องเพื่อลดอัตราการตายที่อาจเกิดขึ้นได้จากโรคไม่ติดต่อ และเพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้ตระหนักถึงความสำคัญของสุขภาพได้มีการปรับเปลี่ยนลดพฤติกรรมเสี่ยง เพิ่มพฤติกรรมดี เพื่อสุขภาพที่ดี ดังนั้นเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสาจังได้จัดทำโครงการป้องกันและจัดการโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสา ประจำปี 2565 ขึ้นอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อคัดกรองเบาหวานในประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป
  4. เพื่อคัดกรองความดันโลหิตในประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป
  5. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจประชากรกลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไป
  2. ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในชุมชนร่วมกับ อสม.
  3. ติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยเป็นโรคเบาหวาน
  4. ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้านในกลุ่มเสี่ยงและสงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง โดย อสม.
  5. ส่งเสริม เฝ้าระวัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
  6. ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยง CVD Risk และผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง
  7. กิจกรรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
  8. ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 414
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 541
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน 1,559
ประชาชนอายุ35ปีขึ้นไปไม่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง 1,340

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
2.ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
3.ร้อยละของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
4.ร้อยละของประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองความดันโลหิต เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
5.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 40 และโรคความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
30.15 29.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
8.17 7.00

 

3 เพื่อคัดกรองเบาหวานในประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
94.23 95.00

 

4 เพื่อคัดกรองความดันโลหิตในประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองความดันโลหิต เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
94.59 95.00

 

5 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 40 และโรคความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3854
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 414
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 541
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน 1,559
ประชาชนอายุ35ปีขึ้นไปไม่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง 1,340

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อคัดกรองเบาหวานในประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป (4) เพื่อคัดกรองความดันโลหิตในประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป (5) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจประชากรกลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไป (2) ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในชุมชนร่วมกับ อสม. (3) ติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยเป็นโรคเบาหวาน (4) ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้านในกลุ่มเสี่ยงและสงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง โดย อสม. (5) ส่งเสริม เฝ้าระวัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวาน (6) ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยง CVD Risk และผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง (7) กิจกรรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง (8) ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและจัดการโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสา ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-50105-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศิรานันท์ บุตรบุรี รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด